Page 162 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 162
หน้า ๑๕๐ ส่วนที่ ๓
ถูกแสวงหาประโยชน์ การกระท าความรุนแรงและการล่วงละเมิดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ั
จึงท าให้เป็นที่มาของการเรียกร้องให้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ดังนี้
๑. เพิ่มนิยามการเลือกปฏิบัติซ้อนทับจากความพิการ เพศและอายุ
๒. แก้ไข ปรับปรุง พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ
ิ
ที่แก้ไขเพมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ มาตรา ๔ นิยามองค์การคนพการแต่ละประเภท ระเบียบองค์กร
ิ่
สมาชิกระดับชาติตามประเภทความพิการที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง
๓. ตัด มาตรา ๑๕ วรรคสาม การเลือกปฏิบัติที่มีเหตุผลทางวิชาการ จารีตประเพณีหรือ
ประโยชน์สาธารณะสนับสนุนให้กระท าได้ตามความจ าเป็นและสมควรแก่กรณีไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติ
โดยไม่เป็นธรรมตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง แต่ผู้กระท าการนั้นจะต้องจัดให้มีมาตรการช่วยเหลือเยียวยา
หรือรักษา ซึ่งสิทธิหรือประโยชน์แก่คนพิการตามความจ าเป็นเท่าที่จะกระท าได้
๔. สร้างหลักประกัน สัดส่วนสตรีพิการในมาตรา ๕ สมาชิกคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติเพราะองค์กรของสตรีพิการถูกจ ากัดสิทธิจากระเบียบองค์กรสมาชิกระดับชาติ
ิ
๕. แก้ไขปรับปรุง มาตรา ๑๕ การเลือกปฏิบัติต่อคนพการเพราะเหตุแห่งเพศสภาพ และ
มาตรา ๑๖ อนุกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติ
ิ
์
ข้อมูลสถิติของกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษยมีข้อมูลสถิติของคนพการ
ั
ที่มีจ านวนคนพการน้อยกว่าข้อมูลสถิติของส านักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งการออกนโยบายของภาครัฐเกี่ยวกับ
ิ
ความพิการนั้นจะใช้ข้อมูลสถิติของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์และฐานข้อมูลของ
คนพการที่มีบัตรประจ าตัวคนพิการเท่านั้น ซึ่งอาจจะท าให้มีการตกส ารวจและมีผู้พิการบางส่วนถูกละเลย
ิ
เข้าไม่ถึงสวัสดิการที่จ าเป็น โดยเฉพาะสวัสดิการที่เกี่ยวกับการคุ้มครองสวัสดิภาพและการเข้าถึง
ั
กระบวนการยุติธรรมซึ่งเป็นเรื่องส าคัญที่ท าให้คนพิการไม่ได้รับการพฒนาและไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการ
ทางด้านสังคมอื่น ๆ ได้
ในการพิจารณาเรื่องดังกล่าวนี้ นางสาวสุเพ็ญศรี พงโคกสูง ผู้อ านวยการมูลนิธิส่งเสริมความ
ึ่
เสมอภาคทางสังคม ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมต่อคณะกรรมาธิการว่า พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตคนพการบังคับใช้ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ ซึ่งบังคับใช้ก่อนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐
ิ
ที่ก าหนดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับความเท่าเทียมระหว่างเพศ พระราชบัญญัติฉบับนี้ มาตรา ๕ ก าหนดให้มี
คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ และผู้แทนองค์การคนพิการแต่ละประเภท
จ านวนเจ็ดคน ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วยผู้แทนที่เป็นเพศชายทั้งหมด ซึ่งไม่มีผู้แทนที่เป็นเพศหญิงแต่อย่างใด
ิ
รวมถึงในเรื่องเงินอุดหนุนที่จัดสรรให้สมาคมคนพการทุกประเภทได้รับเงินสนับสนุนส าหรับเป็นค่าใช้จ่าย
์
ในการบริหารจัดการจากกองทุนตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการก าหนด โดยกรรมการที่เป็น
ผู้แทนที่ได้รับการแต่งตั้งและกรรมการจากผู้แทนขององค์กรส่วนใหญ่จะเป็นเพศชายทั้งสิ้นเช่นกัน ซึ่งขัดกับ
พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง ก าหนดไว้ชัดเจนว่า
การก าหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ ประกาศ มาตรการ โครงการ หรือวิธีปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐ องค์กร
เอกชน หรือบุคคลใดในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศจะกระท ามิได้ รวมถึง
ิ
ควรมีการแก้ไขปรับปรุงและออกแบบกลไกการช่วยเหลือในเรื่องการใช้ล่ามภาษามือที่เป็นธรรมกับคนพการ
ที่เป็นผู้เสียหายจากคดีทางเพศและคดีอื่น ๆ และการก าหนดระเบียบ รายละเอียดกองทุนที่จะช่วยให้
คนพิการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมและได้รับสวัสดิการที่ควรจะได้รับอย่างเต็มที่