Page 164 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 164

หน้า ๑๕๒                                                                             ส่วนที่ ๓



                                                                    ิ
                                                ั
                           ๕. กองทุนส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการได้มีการส่งเสริมสนับสนุนการต่อยอดอาชีพ
               ของคนพิการหรือไม่ อย่างไร
                                                                                 ั
                                                                    ิ
                           ๖. กรมส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการได้มีการพฒนาหรือจัดให้มีล่ามภาษามือ
                                               ั
               เพื่อการบริการในด้านต่าง ๆ ให้กับคนพิการได้อย่างเพียงพอหรือไม่ อย่างไร
                                               ั
                           ๗. กรมส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการได้มีการบูรณาการในเรื่องล่ามภาษามือ
                                                                    ิ
               ในกระบวนการยุติธรรมร่วมกับกระทรวงยุติธรรมและกระทรวงศึกษาหรือไม่ อย่างไร
                                                                                    ั
                                                                                                         ิ
                                      ิ
                           ๘. กรณีข้อพพาทระหว่างศาลปกครองกับกองทุนส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ
               มีที่มาของปัญหาและมีความคืบหน้าจากกรณีดังกล่าวอย่างไร และจากข้อร้องเรียนของผู้พการ เครือข่ายมักพบ
                                                                                           ิ
               มิติความทับซ้อนเรื่องการละเมิดสิทธิของคนพการซึ่งการละเมิดมีในหลายรูปแบบ เช่น การไม่สามารถเข้าถึง
                                                       ิ
               กระบวนการยุติธรรม การถูกละเมิดในสถานดูแลและสถานศึกษา ในเรื่องดังกล่าวกรมส่งเสริมและพฒนา
                                                                                                        ั
                                                                                      ั
               คุณภาพชีวิตคนพการมีนโยบายในการคุ้มครองดูแลอย่างไร และกรมส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ
                               ิ
                                                                                                         ิ
               มีความร่วมมือในเชิงการพัฒนาคนพิการโดยเฉพาะเด็กร่วมกับกระทรวงศึกษาและภาคประชาสังคมอย่างไร
                           ๙. มาตรการดูแลผู้สูงอายุที่เป็นผู้พิการในอีก ๒๐
                                                                    ิ
                                                                                     ั
                                                ั
                           ผู้แทนกรมส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคง
               ของมนุษย์ ได้ชี้แจงต่อที่ประชุมในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
                                                                                           ิ
                           ๑. มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการนี้ “คนพการ”
                                                                      ั
                                                                                                       ิ
               หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจ ากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ าวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม
               เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม
               สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และมีความจ าเป็นเป็นพิเศษ
               ที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ าวันหรือเข้าไปมี

               ส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพฒนา
                                                                             ์
                                                                                                        ั
               สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประกาศก าหนด”
                                                       ั
                                                                                           ิ
                             พระราชบัญญัติส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการก าหนดความพการเป็น ๗ ประเภท
                                                                           ิ
               คนพิการ องค์กรคนพการระดับชาติจะมีนายกสมาคมแต่ละประเภทของความพิการเข้าไปเป็นกรรมการส่งเสริม
                                  ิ
                     ั
               และพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการแห่งชาติ มีส่วนในการก าหนดนโยบายในการด าเนินงานด้านส่งเสริม
                                          ิ
               คุณภาพชีวิตคนพการร่วมกับผู้แทนภาครัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นโดยบอร์ดบริหารมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน
                               ิ
               ซึ่งจากกรณีผู้ร้องเรียนนั้น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีคณะอนุกรรมการขจัดการ
               เลือกปฏิบัติในการรับเรื่องร้องเรียนซึ่งผู้พิการจะสามารถร้องเรียนได้ ซึ่งร้องเรียนได้ทั้งทางเว็บไซต์หรือยื่นเรื่อง

               ด้วยตนเอง ซึ่งหากหน่วยงานได้รับเรื่องร้องเรียนแล้วนั้นก็จะส่งต่อไปยังส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว
               ด าเนินการต่อไป

                             และในส่วนขององค์กรคนพิการขนาดเล็กที่ไม่สามารถเข้าไปเป็นกรรมการได้นั้น หากองค์กรใดมี
               ความประสงค์จะยกระดับองค์กรให้เป็นองค์กรระดับชาติก็สามารถด าเนินการตามหลักเกณฑและระเบียบ
                                                                                                 ์
               ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ซึ่งมีอนุกรรมการจัดตั้งองค์กรเป็นผู้ด าเนินการตาม

                                                                                            ื่
               ขั้นตอนและหลักเกณฑ โดยจะต้องผ่านการพจารณาของอนุกรรมการด้านกฎหมาย เพอให้บอร์ดชาติเป็น
                                    ์
                                                       ิ
               ผู้รับรองการเป็นองค์กรระดับชาติ ซึ่งมีระเบียบและหลักเกณฑบอร์ดชาติจะเป็นผู้ก าหนด โดยในเบื้องต้น
                                                                       ์
               องค์กรที่จะยกระดับขนาดขององค์กรนั้นจะต้องมีเครือข่ายไม่น้อยกว่า ๕๐ เครือข่าย
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169