Page 163 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 163
ส่วนที่ ๓ หน้า ๑๕๑
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาแล้วเห็นว่า
๑. ควรมีการแก้ไข ปรับปรุง พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
ิ
ิ
ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการท าบัตรประจ าตัวคนพการ ซึ่งสถานการณ์ปัจจุบันมีคนพการจ านวนมาก
ั่
ิ
ที่พการติดเตียงหรือพการทางจิตฟนเฟอนไม่สมประกอบไม่สามารถเดินทางไปท าบัตรประจ าตัวประชาชนได้
ิ
ื
ิ
จึงได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตรประจ าตัวประชาชนแต่ระเบียบและกฎหมายคนพการผู้ที่จะท าบัตร
ิ
ประจ าตัวคนพการได้จะต้องมีบัตรประจ าตัวประชาชนเป็นเอกสารหลักฐานในการขอมีบัตรประจ าตัว
ิ
คนพการ จึงท าให้มีคนพการจ านวนมากไม่มีบัตรประจ าตัวคนพิการและไม่สามารถเข้าถึงสิทธิหรือไม่ได้รับสิทธิ
ิ
หรือสวัสดิการที่ควรจะได้รับ ด้วยเหตุนี้จึงควรน าปัญหาดังกล่าวเข้าสู่การพจารณาเพอแก้ไขปรับปรุง
ื่
ิ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในมาตรา ๑๙/๑ โดยระบุให้ชัดเจน
ว่าคนพิการสามารถมีบัตรประจ าตัวคนพิการได้ทุกคนและสามารถเข้าถึงสิทธิในฐานะคนพิการได้ทุกคน
ิ
ั
๒. ประเด็นคณะกรรมการส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการแห่งชาติตามพระราชบัญญัติ
ั
ิ
ส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ควรมีการแก้ไขปรับปรุงให้มีการแต่งตั้งผู้ที่มาจาก
กลุ่มคนพิการหรือผู้ที่มีคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับคนพิการที่มีความสามารถและมีความเชี่ยวชาญโดยตรงเข้ามา
เป็นคณะกรรมการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ื่
ิ
๓. เพอให้เกิดความรอบคอบในการพจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ ควรมีการศึกษาข้อมูล
อย่างรอบด้าน โดยรับฟงความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการรับฟงความคิดเห็นจากองค์กร
ั
ั
ื่
ประชาคมคนพิการที่ขึ้นทะเบียนกับสภาผู้แทนราษฎร เพอให้ได้ความเห็นที่แตกต่างในหลากหลายมุมมอง
ั
ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ พ.ศ. ๒๕๕๐
ิ
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ และการบริหารจัดการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
ิ
ิ
คนพการ การเข้าถึงสิทธิของคนพการและประเด็นอื่น ๆ ที่คณะกรรมาธิการได้แสดงความคิดเห็นและมี
ข้อเสนอแนะ
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ความสมบูรณ์รอบด้าน คณะกรรมาธิการได้เชิญผู้แทนจากกรมส่งเสริมและพฒนา
ั
คุณภาพชีวิตคนพการ กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มาร่วมพจารณาและให้ความเห็น
ิ
ิ
ั
ิ
เกี่ยวกับการแก้ไข ปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตคนพการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในประเด็น
ั
ดังนี้
ิ
๑. ค านิยามในมาตรา ๔ ค านิยามศัพท์ ค าว่า “องค์กรคนพการแต่ละประเภท” ไม่สอดคล้อง
ั
กับความเป็นจริง มีการจ ากัดสิทธิองค์กรคนพการ ส่งผลต่อการคัดเลือกคณะกรรมการส่งเสริมและพฒนา
ิ
คุณภาพชีวิตคนพการแห่งชาติ ตามมาตรา ๕ โดยทั้งนี้ผู้ร้องเรียนได้หยิบยกประเด็นการเข้าไม่ถึงสิทธิ
ิ
เนื่องจากกรรมการเป็นหน่วยงานภาครัฐและองค์กรขนาดใหญ่
๒. หลักเกณฑการเป็นองค์กรระดับชาติได้จะต้องมีเครือข่าย ๕๐ เครือข่ายนั้น มองว่าเป็น
์
หลักเกณฑ์ที่ยากต่อการด าเนินการ เนื่องจากมีข้อจ ากัดในบางพื้นที่ที่อาจเป็นไปได้อย่างยุ่งยากและซับซ้อน
จะมีความเป็นไปได้หรือไม่ในการปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์ในประเด็นดังกล่าว
ิ
๓. ผู้พการที่ไม่มีสถานะพลเมือง ท าให้ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ ได้
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการได้มีการด าเนินการในเรื่องนี้หรือไม่ อย่างไร
๔. มาตรา ๑๕ วรรคสาม ที่ก าหนดว่า “การเลือกปฏิบัติที่มีเหตุผลทางวิชาการ จารีตประเพณี
หรือประโยชน์สาธารณะสนับสนุนให้กระท าได้ตามความจ าเป็นและสมควรแก่กรณี ไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติ
โดยไม่เป็นธรรม” ยังมีความจ าเป็นในการคงมาตรานี้หรือไม่ ซึ่งอาจมองได้ว่าเป็นการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ