Page 153 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 153
ส่วนที่ ๓ หน้า ๑๔๑
เป็นการจ าหน่ายให้ผู้สูงอายุในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ เมื่อผู้สูงอายุเสียชีวิตลงก็สามารถขายบ้านหรือคอนโด
อันเป็นที่อยู่อาศัยนั้นให้กับผู้สูงอายุรายอื่น ๆ ต่อไปได้ (เป็นการขายสิทธิในการอยู่อาศัยภายในบ้านที่มา
พร้อมบริการ) เนื่องจากประเทศไทยมีน้อยขาดการส่งเสริมและยังมีราคาสูงอยู่
๓. คณะรัฐมนตรีควรมีนโยบายให้ทุกองค์กรที่มีภารกิจด้านผู้สูงอายุมีงบประมาณในการ
ื่
ซ่อมแซมบ้านส าหรับผู้สูงอายุ โดยอาจเป็นการสนับสนุนเงินให้หน่วยงานเพอน าไปซ่อมแซมบ้านส าหรับ
ผู้สูงอายุ
๔. คณะรัฐมนตรีควรก าหนดนโยบายเรื่องอารยสถาปัตย์ หรือ Universal Design ที่เอื้อประโยชน์
ต่อทุกคน โดยส่งเสริมให้เกิดความต่อเนื่อง เกิดชุมชนอารยสถาปัตย์และสังคมน่าอยู่สามารถออกจากบ้าน
ได้อย่างปลอดภัย
ิ่
๕. คณะรัฐมนตรีควรจัดท านโยบายเพมเติมเรื่องการให้ความรู้ในการใช้เทคโนโลยีส าหรับผู้สูงอายุ
โดยให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีเหล่านี้ด้วย และสร้างกลไกส าหรับให้ค าแนะน าหรือเป็นที่ปรึกษา
แนะน าการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี
ี
๖. คณะรัฐมนตรีควรจัดสรรการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้เพยงพอต่อการด ารงชีพ ซึ่งไม่น้อยกว่า
ิ่
๓,๐๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน อาจเพมแบบขั้นบันได โดยตั้งต้นที่เดือนละ ๑,๕๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน และเพม
ิ่
ปีละ ๒๐๐ บาท จนกว่าจะเพียงพอต่อการด ารงชีพ
์
๗. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ
ควรเร่งแก้ไขปัญหาเรื่องการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับสวัสดิการอย่างอื่นจากภาครัฐ โดยก าหนด
นโยบายการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้พิจารณาจากผู้สูงอายุมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการด ารงชีวิตตามฐานานุรูป
์
๘. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ควรด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจงานด้านผู้สูงอายุ ดังนี้
๑) เร่งถ่ายโอนภารกิจงานและงบประมาณด้านผู้สูงอายุให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ื่
ที่มีความพร้อม เพอเข้ามามีบทบาทในการดูแล สงเคราะห์ และคุ้มครองสวัสดิภาพผู้สูงอายุได้รวดเร็ว
และตรงต่อความต้องการของผู้สูงอายุมากขึ้น เช่น การสร้างสถานสงเคราะห์คนชราในท้องถิ่นที่มีความพร้อม
รวมถึงการถ่ายโอนสถานสงเคราะห์คนชราที่มีอยู่แล้วให้กับท้องถิ่นที่มีความพร้อม ฯลฯ
๒) ควรถ่ายโอนภารกิจและงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างและปรับปรุงที่อยู่อาศัย
ื่
ส าหรับผู้สูงอายุที่ยากไร้เพอความรวดเร็ว ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุในพนที่ให้แก่องค์กรปกครอง
ื้
ส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อม และควรสนับสนุนการออกแบบการก่อสร้างที่อยู่อาศัย ทั้งในส่วนสถานที่ส่วนบุคคล
และสถานที่บริการสาธารณะที่เอื้อประโยชน์ต่อการใช้งานของผู้สูงอายุเพื่อลดภาวะเสี่ยงที่จะท าให้ผู้สูงอายุ
เกิดภาวะที่ต้องพงพงผู้อื่นได้มากขึ้น ซึ่งอาจเป็นมาตรการสร้างแรงจูงใจจากมาตรการทางภาษี การมีแหล่งเงิน
ิ
ึ่
ช่วยลดภาระในการปรับปรุงที่อยู่อาศัย
๓) ควรมีการออกแบบเครื่องมือหรือกฎหมายที่จะสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สามารถเข้าไปด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจงานด้านผู้สูงอายุได้มากขึ้น เกิดความชัดเจน คล่องตัว
และตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุให้ครบทุกกิจกรรม เช่น สันทนาการ นันทนาการ กิจกรรมรวมกลุ่ม
กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมการดูแลสุขภาพ เป็นต้น
๔) ควรก าหนดภารกิจหลักให้ท้องถิ่นมีการปรับปรุงข้อมูลด้านผู้สูงอายุ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
และติดตามกฎหมาย สวัสดิการ สิทธิประโยชน์และเป็นศูนย์กลางข้อมูลข่าวสารของผู้สูงอายุให้ทันสมัย
และมีระบบแจ้งไปยังผู้สูงอายุให้ทราบและเข้าถึงสิทธิเหล่านั้นด้วย