Page 149 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 149
ส่วนที่ ๓ หน้า ๑๓๗
การด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ที่มีโครงสร้างการบริหารจัดการแรงงานสูงอายุภายใต้
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่ก าหนดกรอบการด าเนินงานไว้ในแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒
(พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ นั้น กระทรวงแรงงานเป็นหน่วยงานหลัก
ที่รับผิดชอบในคณะอนุกรรมการส่งเสริมการขยายโอกาสด้านอาชีพและการท างานส าหรับผู้สูงอายุตาม
แผนกลยุทธ์ด้านการท างานของผู้สูงอายุ ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔) ซึ่งเป็นแผนกลยุทธ์ที่ได้ จัดท าขึ้น
ื่
เพอเชื่อมโยงกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ โดยได้ขยายระยะเวลาการด าเนินงานถึงปี พ.ศ. ๒๕๖๕
และปรับเปลี่ยนชื่อเป็น แผนปฏิบัติการด้านการท างานของผู้สูงอายุ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
ื่
มีกลยุทธ์เพอให้การด าเนินงานสัมฤทธิ์ผล ๕ กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ ๑ กระจายงานสู่บ้านหรือชุมชน
กลยุทธ์ที่ ๒ การขยายอายุเกษียณราชการ กลยุทธ์ที่ ๓ การส่งเสริมการจ้างงานต่อเนื่องของภาคเอกชน
กลยุทธ์ที่ ๔ ส่งเสริมการจ้างงานให้กับผู้สูงอายุในอาชีพที่เหมาะสมกับวัย ประสบการณ์การท างาน
และสมรรถนะทางกาย และกลยุทธ์ที่ ๕ การสร้างฐานข้อมูลตลาดแรงงานด้านผู้สูงอายุ โดยมีผลการ
ด าเนินงานในภาพรวม คือ สามารถส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีงานท าภายใต้โครงการต่าง ๆ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
จ านวน ๖๖,๐๐๐ คน และคุ้มครองให้ได้รับสิทธิตามกฎหมายจากการที่ได้มีการขยายอายุการเป็นสมาชิก
ของผู้ประกันตน ในมาตรา ๔๐ ซึ่งท าให้มีผู้สูงอายุเข้าอยู่ในระบบประกันสังคม จ านวน ๑,๓๓๘,๐๐๐ คน
ผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบประกันสังคม มาตรา ๓๙ จ านวน ๒๔๐,๐๐๐ คน และผู้สูงอายุที่ยังท างานในสถาน
ประกอบการมีลักษณะเป็นลูกจ้างอีก ๑๕๐,๐๐๐ คน รวมจ านวนผู้สูงอายุที่อยู่ในระบบประกันสังคมที่ได้รับ
การคุ้มครอง ทั้งสิ้น ๑,๗๓๐,๐๐๐ คน
กระทรวงสาธารณสุข
ผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมเกี่ยวกับการสร้างระบบภูมิคุ้มกัน
สุขภาวะแก่ผู้สูงอายุ ในการเตรียมพร้อมเพอรองรับสถานการณ์ผู้สูงอายุ ดังนี้ สถานการณ์ผู้สูงอายุ
ื่
ในปัจจุบัน (ข้อมูลวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๔) ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ จ านวน ๑๒,๗๑๕,๘๖๘ ล้านคน
โดยประชากรอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๑ และอายุ ๖๕ ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๖ ส่งผลให้
ประเทศไทยก าลังจะกลายเป็น “สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์” (Complete Aged Society) ภายในปี พ.ศ.
๒๕๖๕ และจะเป็น “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ในปี พ.ศ. ๒๕๗๔ ตามที่องค์การ
สหประชาชาติได้ก าหนดนิยาม “สังคมสูงอายุ” (Aging Society)
แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุ ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ -๒๕๖๕) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ ๒
พ.ศ. ๒๕๖๓ มีมาตรการขับเคลื่อนสังคมสูงวัยคนไทยอายุยืน แบ่งเป็น ๔ มิติ ได้แก่
๑. มิติเศรษฐกิจ ในเรื่องการสร้างหลักประกันรายได้ในยามสูงวัย การส่งเสริมการท างาน
ในยามสูงวัย และการกระจายแหล่งการจ้างงานให้อยู่ใกล้ชุมชนชนบท รวมถึงการจูงใจให้คนต่างชาติที่มี
คุณภาพและต้องการท างานในประเทศไทยอย่างถาวรได้มีโอกาสท างาน และพ านักในประเทศไทย
๒. มิติสภาพแวดล้อม โดยการปรับปรุงกฎหมายให้มีผลใช้บังคับให้สอดคล้อง ครอบคลุม
และมีประสิทธิภาพ ด้านงบประมาณในการสร้างอาคาร โครงสร้างพนฐาน เช่น ถนน ระบบขนส่งมวลชน
ื้
เป็นต้น และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีภารกิจในการปรับสภาพแวดล้อมบ้านผู้สูงอายุในชุมชนได้
เพื่อความปลอดภัยส าหรับผู้สูงอายุ
ั
ื่
๓. มิติสุขภาพ โดยบูรณาการศูนย์พฒนาคุณภาพชีวิตระดับต าบล เพอท าหน้าที่เป็นหน่วย
ื้
ปฏิบัติการในการบูรณาการกิจกรรมและทรัพยากร การยกระดับผู้บริบาลอาชีพ การจัดให้มีศูนย์ฟนฟ ู
สุขภาพทุกอ าเภอควบคู่กับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ผู้ป่วยระยะกลาง