Page 146 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 146
หน้า ๑๓๔ ส่วนที่ ๓
๑. ระบบการบริหารราชการแบบภูมิภาค มีส่วนราชการของกรมกระจายไปทุกจังหวัดเป็น
ท้องถิ่นจังหวัดบริหารส่วนราชการหรือท างานในจังหวัดนั้น ๆ
ื่
๒. ระบบบริหารจัดการแบบสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพอให้ท้องถิ่นจัดบริการ
ื้
สาธารณะในพนที่ที่ก าหนด รวมถึงภารกิจถ่ายโอนมาจากหน่วยงานราชการส่วนกลางต่าง ๆ โดยภารกิจ
ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุจะด าเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ที่มีรองนายกรัฐมนตรี
ที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีเป็นประธานมาปรับใช้บริหารจัดการในพื้นที่ที่รับผิดชอบ มีการก าหนด
มาตรฐานการด าเนินการให้ท้องถิ่นน าไปด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ของตน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ั
จะต้องมีการจัดท าแผนพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุประจ าท้องถิ่นเป็นของตนเอง ต้องด าเนินการปรับ
โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับสังคมสูงวัย การดูแลผู้สูงอายุของท้องถิ่นต้องพิจารณาถึงกลุ่มผู้สูงอายุทุกกลุ่ม
ิ
ึ่
ที่มีความแตกต่างกัน ทั้งกลุ่มพงพง กลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง โดยเฉพาะกลุ่มติดเตียง
ต้องมีอาสาสมัครเข้ามาให้การดูแลเพอให้บุตรหลานสามารถออกไปประกอบอาชีพหาเลี้ยงครอบครัวได้
ื่
ซึ่งอาสาสมัครเหล่านี้ควรได้รับงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง
การเตรียมการเพื่อรองรับสังคมสูงวัยมีการวางแผนกลุ่มประชากรไว้ตั้งแต่อายุ ๑๕ ปี ต้องมี
การเตรียมพร้อมเรื่องค่าใช้จ่ายภายหลังเกษียณอายุ ต้องมีการสะสมรายได้ นอกจากนี้ภารกิจที่ส าคัญคือ
ภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนมาจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ คือ การจ่ายเบี้ยยังชีพให้
ผู้สูงอายุที่มีอยู่ประมาณ ๑๐ กว่าล้านคน ใช้งบประมาณประมาณ ๘ หมื่นกว่าล้านบาท โดยจ่ายตามนโยบาย
ของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ นอกจากนี้ค่าใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการหรือการด าเนินการ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาโรคระบาด Covid-๑๙ ท้องถิ่นสามารถเบิกจ่ายได้เพยงแต่ท้องถิ่น
ี
ต้องจัดท าโครงการเสนอเบิกงบประมาณสนับสนุนจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
นอกจากนี้ยังมีช่องทางที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถส่งเสริมสนับสนุนท้องถิ่นได้
โดยการส่งเงินงบประมาณสนับสนุนกองทุนสวัสดิการชุมชนที่มีอยู่ในท้องถิ่นประมาณ ๕,๐๐๐ กว่ากองทุน
ท าให้สามารถจัดสวัสดิการตามความต้องการของชุมชนและมีความยืดหยุ่นกว่าการด าเนินการขององค์กร
ปกครองท้องถิ่น นอกจากนี้การสร้างบ้านให้กับผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสองค์กรปกครองท้องถิ่นไม่สามารถ
ด าเนินการให้ได้เนื่องจากภารกิจนี้ยังไม่ได้รับการถ่ายโอนมาจากการเคหะแห่งชาติ แต่สามารถด าเนินการ
ิ่
ตามระเบียบที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่งอาจมีการเพมขั้นตอนเล็กน้อยโดยต้องมีการท าประชาคมกับคนในท้องถิ่น
ก่อนที่จะด าเนินการสร้างบ้านให้กับผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสรายใด และกิจกรรมที่ก าลังด าเนินการที่น่าสนใจ
อีกกิจกรรม คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคน ๒ วัย โดยได้น าเด็กและผู้สูงอายุมาจัดกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้
เกิดความเข้าใจระหว่างกันของคนแต่ละช่วงวัย เช่น เหตุใดผู้สูงอายุถึงต้องพูดเสียงดัง ก็จะมีการน าหูฟงมา
ั
ู
ครอบหูเด็กและให้พดจาสื่อสารกัน เด็กก็จะไม่ค่อยได้ยินจึงต้องมีการส่งเสียงดังมากขึ้น สุดท้ายเด็กก็จะมี
ความเข้าใจถึงสาเหตุที่ผู้สูงอายุเหตุที่ต้องพูดจาเสียงดังก็เพราะหูตึงนั่นเอง เป็นต้น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแกนกลางหรือวงล้อที่จะขับเคลื่อนงานตามนโยบาย
(กฎหมาย) ที่มาจากฝ่ายบริหาร ลงไปสู่เป้าหมายคือผู้สูงอายุในท้องถิ่น หากมีการขับเคลื่อนที่ดีผลประโยชน์
จะตกแก่ชุมชนท้องถิ่นโดยตรง
ต่อมา ที่ประชุมได้แสดงความคิดเห็นและให้ข้อสังเกต สรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
๑. ปัจจุบันค่าครองชีพที่จะท าให้ผู้สูงอายุสามารถด ารงชีวิตได้อย่างปกติสุขจะอยู่ที่วันละ
๑๐๐ บาท เดือนละ ๓,๐๐๐ บาท โดยการจัดสรรให้อย่างถ้วนหน้าไม่ใช้ระบบขั้นบันไดแบบปัจจุบัน
ี
จึงจะเพยงพอต่อการด ารงชีวิต คณะกรรมาธิการจึงฝากประเด็นนี้ไปยังกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
เพื่อพิจารณาน าเสนอต่อภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป