Page 150 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 150

หน้า ๑๓๘                                                                             ส่วนที่ ๓



                           ๔. มิติสังคม โดยเพิ่มบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาระบบรองรับสังคมสูงวัย

               คนไทยอายุยืน การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรียน โรงพยาบาล และวิสาหกิจ
                  ื่
                                           ิ
               เพอสังคม การก าหนดให้มีผู้พทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ และการส่งเสริมผู้ที่มีความพร้อมให้มีบุตรและชะลอ
               การตั้งครรภ์ของผู้ที่ไม่พร้อม สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในวัยสูงอายุนั้น จะมีทั้งในเรื่องการดูแลที่ผู้สูงอายุ
               จะขาดผู้ดูแล อันเนื่องมาจากการอยู่คนเดียวหรือครอบครัวเล็กลง เรื่องที่พกอาศัย บ้านที่ไม่ปลอดภัย
                                                                                    ั
               และสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เรื่องสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่เหงา ซึมเศร้า มีโรคประจ าตัว

                                                                                                       ี
               หรือเจ็บป่วยเรื้อรัง และในเรื่องเศรษฐกิจที่ผู้สูงอายุยากจน ขาดรายได้หรือรายได้ลดลงไม่เพยงพอ
                                              ึ่
               ซึ่งผู้สูงอายุไทยมีแนวโน้มมีภาวะพงพิงมากขึ้น โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ กระทรวงสาธารณสุขได้เน้น ๒ เรื่อง
               ที่ส าคัญ คือ
                             - สถานการณ์ผู้สูงอายุสมองเสื่อม ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจ านวน ๖๑๗,๐๐๐ คน
               และคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. ๒๕๘๐ จะมีจ านวนเพมขึ้นเป็น ๑,๓๕๐,๐๐๐ คน การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
                                                            ิ่
               ๑ คน ต้องใช้ผู้ดูแลอย่างน้อย ๒ คน
                             - สถานการณ์ด้านการหกล้ม ผู้สูงอายุร้อยละ ๒๐ มีความชุกหกล้มในชุมชน และร้อยละ ๕๐

               ผู้สูงอายุที่รับการรักษาจากหกล้ม เสียชีวิตใน ๑ ปี ซึ่งการหกล้มเป็นสาเหตุหลักของกระดูกสะโพกหัก
               และภาวะติดบ้านติดเตียง
                           แนวทางการด าเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข เป็นการดูแลสุขภาพองค์รวมที่บูรณาการ

                                                                                                       ื่
               ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุครบด้าน (BMTEC) ผู้สูงอายุจะได้รับการคัดกรอง ประเมิน และส่งต่อเพอดูแล
               ตามสภาพปัญหา เพื่อลดความเจ็บป่วยรุนแรง พิการ และเสียชีวิต เป็นการด าเนินการตั้งแต่ (๑) ต้นน้ า คือ

               การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค โดยคัดกรองระดับต้น (Step 1) และจัดท าแผนการส่งเสริมสุขภาพ
                                                                         ู
                                                                      ื้
               ผู้สูงอายุรายบุคคล  (๒) กลางน้ า คือ การดูแลรักษา และฟนฟสมรรถภาพ เป็นการประเมิน (Step 2)
               ในกลุ่มที่คัดกรองระดับต้นแล้วผิดปกติ โดยจะส่งต่อผู้ที่ได้รับการประเมิน (Step 2) ที่พบว่าเสี่ยงต่อการเกิด
               ภาวะสมองเสื่อม หรือภาวะหกล้มดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ พร้อมทั้งสนับสนุนการจัดตั้งและพฒนา
                                                                                                        ั
               คลินิกผู้สูงอายุในรูปแบบเฉพาะทางที่เหมาะสมกับบริบทและศักยภาพของโรงพยาบาลในแต่ละระดับ และ

               (๓) ปลายน้ า คือ การดูแลระยะยาว และการดูแลระยะท้าย โดยการพัฒนาระบบ Long Term Care (LTC)
               และ Specialized LTC ส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพงพง และการพฒนาระบบ Palliative Care (PC)
                                                                             ั
                                                                  ิ
                                                               ึ่
               ส าหรับผู้สูงอายุระยะท้ายของชีวิต ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวอย่างมีสุขภาวะ ลดการเกิดภาวะพึ่งพิง
               และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
                           สรุปประเด็นการสร้างระบบภูมิคุ้มกันสุขภาวะแก่ผู้สูงอายุ ดังนี้

                           ๑. การเพมความตระหนักรู้ ความเข้าใจของประชาชนต่อการเตรียมตัวเป็นผู้สูงอายุที่มี
                                    ิ่
               คุณภาพ (Active Aging)

                           ๒. พัฒนาระบบการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเชื่อมโยงไร้รอยต่อจากสถานบริการสู่ชุมชน
                             - การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพมความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยเฉพาะเรื่องวัคซีน
                                                                  ิ่
               ป้องกันโรค

                             - การจัดการดูแลรักษาให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม
                         ิ
               มีช่องทางพเศษส าหรับผู้สูงอายุ คลินิกผู้สูงอายุ การดูแลระยะเฉียบพลัน ระยะกลาง ระยะยาว และการดูแล
               ระยะท้าย
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155