Page 154 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 154
หน้า ๑๔๒ ส่วนที่ ๓
๕) ควรส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วม
กิจกรรมและการด าเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
๙. กระทรวงสาธารณสุข ควรมีการก าหนดภารกิจหลักขึ้นในหน่วยงาน หรือสร้างหน่วยงานขึ้นมา
ื่
เพอสนับสนุนงานด้านการออมสุขภาพโดยตรง การส่งเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง และการด าเนินการให้ผู้สูงอายุ
สามารถเข้ารับการรักษาขั้นปฐมภูมิได้ทุกโรงพยาบาลและสถานบริการของรัฐโดยไม่จ ากัดเฉพาะโรงพยาบาล
ที่ระบุในบัตรหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
๑๐. กระทรวงแรงงาน ควรมีการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพตลอดชีวิตให้กับผู้สูงอายุ สนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงงานของผู้สูงอายุให้ทันต่อโลกปัจจุบัน โดยเฉพาะบางงานที่ผู้สูงอายุมีความช านาญ
แต่ตลาดแรงงานไม่มีความต้องการแล้ว การก าหนดค่าตอบแทนแรงงานที่เหมาะสมโดยพิจารณาจากคุณค่า
ของงาน ประสบการณ์ ความช านาญ ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ
๑๑. กระทรวงยุติธรรม ควรมีการให้ความรู้ด้านกฎหมายเชิงรุกให้เข้ากับยุคสมัยที่ผู้สูงอายุ
ื่
สามารถเข้าถึง เข้าใจและใช้ประโยชน์ได้ มีกระบวนการช่วยเหลือทางกฎหมายต่อผู้สูงอายุเพอให้ทันต่อ
สถานการณ์ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ปัญหาการถูกล่อลวงจากมิจฉาชีพ
ิ
ี่
่
และจากญาติพน้อง รวมถึงกระบวนการในทางแพง เช่น การให้ การซื้อขาย รวมถึงเรื่องพนัยกรรม
และมรดก เป็นต้น
๑๒. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรมีการท างานในเชิงรุกเพื่อให้ความรู้ การสนับสนุน
ให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงสวัสดิการของรัฐที่มาในรูปแบบใหม่ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผ่านโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ และการป้องกันผู้สูงอายุถูกฉ้อโกง ถูกหลอกลวงจากมิจฉาชีพที่มากับโลกยุคปัจจุบัน
๑๓. กระทรวงศึกษาธิการ ควรมีการก าหนดหลักสูตรการศึกษาส าหรับผู้สูงอายุขึ้นโดยตรง
สร้างแหล่งเรียนรู้หรือจัดสถานศึกษาที่มีอยู่หรือที่ไม่ได้ใช้งานให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในหลักสูตรการจัด
การศึกษาส าหรับผู้สูงอายุและส าหรับคนทุกช่วงวัย นอกจากนี้ควรมีการก าหนดให้มีการเทียบโอนคุณวุฒิ
จากประสบการณ์ ความช านาญ ปราชญ์ชาวบ้าน เพอที่จะเป็นประโยชน์ต่อการจ่ายค่าตอบแทนแรงงาน
ื่
ของผู้สูงอายุที่เหมาะสมด้วย
๑๔. กระทรวงมหาดไทย ควรเร่งปรับปรุงแก้ไขแนวทางประกอบการใช้ดุลพินิจในเรื่องคุณสมบัติ
ของผู้แปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา ๑๐ (๔) แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ โดยก าหนดให้ผู้ที่มีชื่ออยู่ใน
ทะเบียนบ้านใดให้ถือว่ามีภูมิล าเนาที่นั้น และด าเนินการแปลงสัญชาติให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว
คณะกรรมาธิการพิจารณาศึกษาแล้วพบว่ามีประเด็นที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับงานด้านผู้สูงอายุ
คือ จะสร้างเสริมศักยภาพของผู้สูงอายุในอนาคตได้อย่างไร ต้องการเห็นผู้สูงอายุในอีก ๑๐ ปี หรืออีก ๒๐ ปี
์
ข้างหน้าเป็นอย่างไร โดยพบว่าไม่ควรน าอายุของบุคคลมาเป็นเกณฑในการจ าแนกบทบาทหน้าที่ต่อตัว
ิ
ผู้สูงอายุเอง หรือต่อบุคคล และสังคม ควรพจารณาที่ความรู้ ความสามารถ และการพฒนาตนเองไม่มีที่
ั
สิ้นสุดส าหรับคนทุกวัยแทน จึงจะเป็นการแก้ไขปัญหาสังคมสูงวัยส าหรับประเทศไทยที่ยังยืน และผลสุดท้าย
จะน าไปสู่สังคมที่ไร้อายุ อายุไม่ใช่ปัญหาในการหยุดการท าหน้าที่ที่บุคคลนั้นต้องการอีกต่อไปตราบใดที่มี
ศักยภาพเพียงพอและยังมีความต้องการที่จะด าเนินการตามความเหมาะสมของสภาวะสังคมในขณะนั้น
ประเด็นที่คณะกรรมาธิการได้ค้นพบจากการพิจารณาศึกษาพบว่าจะต้องให้ความส าคัญในการ
สร้างเสริมศักยภาพของผู้สูงอายุในอนาคตเน้นไปที่ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพที่พร้อมรับการส่งเสริมและขณะเดียวกัน
ระบบการบริหารจัดการผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพงหรือกลุ่มผู้ป่วยต้องมีกระบวนการรองรับโดยไม่กระทบต่อการ
ิ
ด าเนินชีวิตประจ าวันของกลุ่มคนวัยอื่น ๆ โดยเฉพาะในวัยท างานและวัยสูงอายุที่ยังมีศักยภาพอยู่ โดยไม่เป็น