Page 148 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 148
หน้า ๑๓๖ ส่วนที่ ๓
ี
ผู้สูงอายุได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุเพยงเล็กน้อยจึงไม่ได้รับการรักษาพยาบาล ร้อยละ ๖๙.๑ ซื้อยา
มารักษาเอง ร้อยละ ๒๒.๖ เข้ารับการรักษาพยาบาลไม่เกิน ๓ วัน ร้อยละ ๒.๖ และเข้ารับการรักษาพยาบาล
เกิน ๓ วัน ร้อยละ ๐.๙
การขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุจะเป็นการขับเคลื่อนใน ๓ ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ (๑) การส่งเสริมให้
ั
ผู้สูงอายุมีงานท า (๒) การพฒนาทักษะทางอาชีพ โดยฝึกอบรมแรงงานสูงอายุให้มีความรู้ ความสามารถ
ทักษะฝีมือ เพอเพมโอกาสในการประกอบอาชีพ และ (๓) การส่งเสริมและสนับสนุนให้แรงงานสูงอายุ
ื่
ิ่
ื่
ได้เข้าถึงระบบประกันสังคม เพอคุ้มครองดูแลผู้สูงอายุให้มีหลักประกันทางสังคมในเวลาที่เกษียณอายุ
โดยการขับเคลื่อนดังกล่าวได้เชื่อมโยงจากนโยบาย มาตรการ และแผนงานต่าง ๆ ดังนี้
๑. นโยบายรัฐบาลด้านผู้สูงอายุ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ก าหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน
แบ่งออกเป็นนโยบายหลัก ๑๒ ด้าน และนโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรื่อง มีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ คือ
นโยบายหลักที่ ๘ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบาย
เร่งด่วนที่ ๒ การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
๒. มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง สังคมสูงอายุ โดยมอบหมายให้หน่วยงาน
หลัก ๖ กระทรวง ได้บูรณาการความร่วมมือด าเนินการขับเคลื่อนใน ๒ มาตรการหลัก (๑๐ มาตรการย่อย)
ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม
ซึ่งกระทรวงแรงงานรับผิดชอบ ๑ มาตรการย่อย คือ ส่งเสริมการมีงานท าและมีรายได้ของผู้สูงอายุ
๓. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) โดยมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อน
งานด้านผู้สูงอายุ จ านวน ๒ ยุทธศาสตร์ คือ (๑) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ั
ทรัพยากรมนุษย์ และ (๒) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔. นโยบายกระทรวงแรงงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับการเข้าสู่สังคมสูงอายุ ซึ่งนับตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นมา กระทรวงแรงงานได้ด าเนินนโยบายเพอส่งเสริมการมีงานท าและฝึกอบรมให้แก่
ื่
ประชากรวัยแรงงาน จนถึงแรงงานสูงอายุอย่างต่อเนื่อง เพอเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ประชากร
ื่
ิ่
ทั้ง ๒ ช่วงวัย ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะฝีมือ เป็นการเพมโอกาสในการประกอบอาชีพ รวมถึง
เป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่แรงงานในการเข้าสู่สังคมสูงอายุ โดยการเร่งยกระดับทักษะฝีมือแรงงาน
ให้เป็นแรงงานคุณภาพ ทั้ง ๓ มิติ ภายใต้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคีเครือข่าย
เช่น การเปิดหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้สูงอายุ (ร่วมกับโรงพยาบาลกล้วยน้ าไท) การฝึกอบรมให้แรงงาน
มีความรู้ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E–Commerce (ร่วมกับส านักงานพฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ั
ั
(สพธอ. หรือ ETDA)) การพฒนาก าลังแรงงานด้านดิจิทัลผ่านการเรียนรู้แบบออนไลน์ (ร่วมกับบริษัท
ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จ ากัด) และการจัดท าหลักสูตรพัฒนาอาชีพแบบออนไลน์ (ผ่านระบบ DSD M-
Learning ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน) เป็นต้น ทั้งนี้ ยังได้ขับเคลื่อนนโยบายที่ส าคัญควบคู่กันไป เพื่อเพิ่ม
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ผ่านการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายประกันสังคม
และกฎกระทรวงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ (๑) ขยายอายุการเป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา ๓๓ จากเดิม อายุ
๖๐ ปีบริบูรณ์ เป็นไม่ก าหนดอายุขั้นสูง (๒) ประกันเงินบ านาญขั้นต่ าให้แก่ทายาท กรณีผู้ประกันตนเสียชีวิต
ภายใน ๖๐ เดือน (๓) ปรับสูตรการค านวณบ านาญของผู้ประกันตนเมื่อเกษียณอายุ และ (๔) พฒนาสิทธิ
ั
ประโยชน์ให้ผู้รับบ านาญสามารถเป็นผู้ประกันตนต่อไป โดยได้รับสิทธิประโยชน์ ๓ กรณี คือเจ็บป่วย
ทุพพลภาพ และตาย