Page 68 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 68

หน้า ๕๖                                                                              ส่วนที่ ๓



               ให้ก าลังใจให้สู้และเดินหน้าต่อ โดยในระยะต่อไปจะเป็นการเยียวยาให้ค าปรึกษาและแนะน าที่ขยายวงกว้าง

               มากขึ้น ทั้งในองค์การบริหารส่วนต าบลอุทัยสวรรค์และในชุมชนที่ได้รับผลกระทบด้วย
                           ระยะแรกของด าเนินการจะเน้นเข้าพบครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบทั้ง ๔๐ ครอบครัว

               มีการเยียวยาให้ค าปรึกษา ค าแนะน าและส ารวจข้อมูลว่า มิติในภาพรวมครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบ
                                                                                                        ่
               มีปัญหาด้านสังคมอย่างอื่นหรือไม่ ซึ่งจากเหตุการณ์ในครั้งนี้พบว่า เกิดปัญหาเด็กก าพร้าเนื่องจากพอแม่
               เสียชีวิต ปัญหาผู้สูงอายุอยู่คนเดียว ปัญหาไร้อาชีพไร้รายได้เนื่องจากหัวหน้าครอบครัวเสียชีวิต ปัญหา

               หนี้สิน และปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวทีม CM (Case Manager) ต้องท าแผนระยะสั้น
               ระยะกลางและระยะยาวในแต่ละปัญหาว่าจะต้องท าเรื่องใดก่อน นอกจากนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ

               ความมั่นคงของมนุษย์ยังมอบเงินเยียวยาเบื้องต้นให้กับผู้เสียชีวิตรายละ ๑๐,๐๐๐ บาท และมอบเงิน
               ช่วยเหลือจากกองทุนสวัสดิการชุมชน ในกรณีที่เป็นสมาชิกกองทุนฯ จ านวน ๓ ครอบครัว รวมเป็นเงิน
               ๔๐,๐๐๐ บาท และกรณีที่ไม่ได้เป็นสมาชิกกองทุนฯ จ านวน ๓๔ ราย ๆ ละ ๑,๐๐๐ บาท เป็นเงิน

               ๓๔,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๗๔,๐๐๐ บาท รวมถึงจัดทีมท างานร่วมกับจังหวัดหนองบัวล าภู
                                                                               ์
               โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ได้ลงพื้นที่เยี่ยมผู้ได้รับผลกระทบ
               และประชุมร่วมกับองค์การบริหารส่วนต าบลอุทัยสวรรค์ รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                           เมื่อการด าเนินการได้พ้นระยะแรกหรือระยะวิกฤตและเข้าสู่ระยะกลาง CM (Case Manager)
                                                                  ื้
               จะยังท าหน้าที่ต่อเนื่องโดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานในพนที่ ซึ่งขณะนี้ได้มีการประชุมจัดท าแผนเผชิญเหตุ
                                                                             ั
               ทางสังคมร่วมกันของส่วนกลางและหน่วยงานในพนที่ โดยกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
                                                         ื้
               จะท าการทบทวนแผนชุมชนที่เกิดเหตุว่าแผนชุมชนที่ผ่านมามีการตอบสนองกับสังคมที่มีปัญหาวิกฤตเช่นนี้
               หรือไม่ อีกทั้งในระยะกลางกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ยังช่วยเหลือในเรื่องของ
                                                      ั
               ผู้สูงอายุและเด็กที่ได้รับผลกระทบโดยได้ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือไม่ว่าจะเป็น

               เรื่องของการศึกษาและประสานกับการเคหะแห่งชาติในการช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย การซ่อมแซมห้องน้ า
               ผู้สูงอายุ ผู้พิการ รวมถึงการฝึกทักษะด้านอาชีพให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบและครอบครัว
                                                                          ั
                           แผนระยะยาวในการด าเนินการของกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
               จะท างานร่วมกับชุมชนโดยอาศัยแผนพัฒนาชุมชน โดยใช้กลไกที่มีอยู่ในพื้นที่ เช่น อาสาสมัครพัฒนาสังคม
               และความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) สภาเด็กและเยาวชน และเครือข่ายในชุมชน ในการชี้เป้าเฝ้าระวัง

               ป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้น และการจัดท าพนที่ต้นแบบโดยให้จังหวัดหนองบัวล าภูเป็นพื้นที่ต้นแบบน าร่อง
                                                     ื้
                                                           ู
                                                        ื้
               ระบบสวัสดิการสังคมครบวงจร รวมถึงการฟนฟเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบและครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
                                                                           ั
               กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้มีโครงการพฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางซึ่งมี
                             ั
                                                                          ั
                                     ี
               ข้อมูลของทุกต าบลไม่เพยงเฉพาะต าบลที่ประสบเหตุและร่วมกันพฒนาคุณภาพชีวิต ๕ มิติ ทั้งด้านข้อมูล
               ด้านสังคม ด้านการศึกษา ด้านที่อยู่อาศัย ด้านอาชีพและการมีงานท า และด้านท่องเที่ยวและชุมชน รวมทั้ง
               เป็นการรองรับการแก้ไขปัญหาความยากจนของรัฐบาลอีกด้วย
                           กรณีของศูนย์พฒนาเด็กเล็กในประเทศไทยมีจ านวน ๕๐,๐๐๐ กว่าแห่ง ซึ่งมีหน่วยงาน
                                         ั
                                                  ั
               ที่รับผิดชอบ คือ ๑) กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ๒) กระทรวงมหาดไทย
                                                                                     ั
               ๓) กระทรวงแรงงาน และ ๔) กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งใช้มาตรฐานสถานพฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
               และขณะนี้ได้มีการประชุมทบทวนมาตรฐานศูนย์พฒนาเด็กเล็ก โดยต้องทบทวนถึงตัวเด็ก สภาพสิ่งแวดล้อม
                                                           ั
               บุคลากรที่ดูแลเด็ก ให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นไปตามมาตรฐานการดูแลเด็กขั้นต่ า โดยมองว่าทรัพยากรเด็ก
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73