Page 67 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 67
ส่วนที่ ๓ หน้า ๕๕
พิจารณาศึกษาแนวทางการป้องกันเหตุความรุนแรง
ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนต าบลอุทัยสวรรค์
อ าเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล าภู
ั
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มี
ิ
ความหลากหลายทางเพศ ได้หยิบยกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อสวัสดิภาพและความปลอดภัย
ของเด็กเล็ก กรณีความรุนแรงที่ศูนย์พฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนต าบลอุทัยสวรรค์ อ าเภอนากลาง
ั
จังหวัดหนองบัวล าภู โดยเชิญปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้บัญชาการต ารวจ
แห่งชาติ และอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ร่วมให้ข้อมูล สรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ั
คณะกรรมาธิการได้มีข้อซักถามต่อผู้แทนปลัดกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ดังนี้
์
๑. การวางแผนและการด าเนินการช่วยเหลือเยียวยาต่อครอบครัวของผู้เสียชีวิต ผู้ได้รับบาดเจ็บ
หรือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ดังกล่าวทั้งในระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว
๒. มาตรการหรือการก าหนดวาระแห่งชาติในเรื่องการดูแลและเฝ้าระวังเพื่อป้องกันเหตุความรุนแรง
ในลักษณะเดิมที่อาจจะเกิดซ้ า
๓. แนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชนที่เกิดเหตุและรูปแบบ
แนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางสังคมของจังหวัดหนองบัวล าภู
ั
๔. แผนการรับมือต่อกรณีการเกิดเหตุความรุนแรง ซึ่งขณะนี้ศูนย์พฒนาเด็กเล็กมีทั้งในส่วน
ที่อยู่ในความก ากับดูแลของกรมส่งเสริมการปกครองและในความก ากับดูแลของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ที่ขึ้นทะเบียนเป็นสถานรับเลี้ยงเด็ก ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกัน
๕. การทบทวนกรณีสื่อมวลชนเสนอภาพเหตุการณ์ความรุนแรงและการละเมิดสิทธิ์ของ
ผู้เสียชีวิตและผู้เสียหาย
ผู้ตรวจราชการกระทรวง ผู้ซึ่งได้รับมอบหมายได้ชี้แจงและให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการว่า
การช่วยเหลือการเยียวยาต่อครอบครัวของผู้เสียชีวิต ผู้ได้รับบาดเจ็บหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากกรณี
ที่เกิดเหตุมีผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งสิ้น ๔๐ ครอบครัว จ านวน ๔๘ ราย โดยแบ่งออกเป็น ผู้เสียชีวิต ๓๗ ราย
บาดเจ็บ ๑๑ ราย ขณะนี้ด าเนินการช่วยเหลือเยียวยาครบทั้ง ๔๘ ราย โดยจัดทีมระยะสั้นหรือในระยะ
วิกฤตลงปฏิบัติงานพร้อมกับทีม MCATT ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขในการเยียวยาจิตใจของ
ผู้ได้รับผลกระทบในสถานการณ์วิกฤตเป็นหลักและจากนั้นจะส่งต่อทีมปฏิบัติการสังคมสงเคราะห์ CM
(Case Manager) ของกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยด าเนินการให้ผู้ปฏิบัติการ
ั
สังคมสงเคราะห์ CM (Case Manager) ๑ คน ต่อ ๑ ครอบครัว โดยในระยะแรกจะด าเนินการเข้าพบครอบครัว
ื่
ผู้ได้รับผลกระทบทุกวัน เพอเยียวยาให้ค าปรึกษา แนะน าและส ารวจข้อมูลในเบื้องต้น โดยเน้นครอบครัว
ที่ได้รับผลกระทบทั้ง ๔๐ ครอบครัว ซึ่งปัจจุบันนี้อยู่ในระยะที่สองจะมีการด าเนินการเข้าพบครอบครัวผู้ได้รับ
ผลกระทบสัปดาห์ละ ๓ ครั้ง ด้วยสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นนักสังคมสงเคราะห์ไม่สามารถรับทราบข้อมูล
ข้อเท็จจริงได้ในครั้งเดียว เนื่องจากบางครอบครัวยังไม่พร้อมที่จะให้ข้อมูลข้อเท็จจริงจึงกระท าได้เพียงการ