Page 64 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 64

หน้า ๕๒                                                                              ส่วนที่ ๓



                                                                           ั
                           ผู้แทนจากกรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
               ได้ชี้แจงข้อมูลต่อที่ประชุมว่า ภายหลังการประกาศบังคับใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา
               (ฉบับที่ ๒๙) พ.ศ. ๒๕๖๕ กรมกิจการเด็กและเยาวชนได้ก าหนดแผนเพื่อรองรับแนวทางปฏิบัติในการด าเนินการ

                                                           ื่
               ตามกฎหมายดังกล่าว โดยได้จัดตั้งคณะท างานเพอก าหนดแนวทางการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่ต้องหาว่า
                                                                        ์
               กระท าการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดแต่อายุยงไม่ถึงเกณฑต้องรับโทษทางอาญา โดยให้คณะท างาน
                                                             ั
               มีหน้าที่และอ านาจดังต่อไปนี้
                           ๑. จัดท าแนวทางประสานงานส่งตัวเด็กที่อยู่ในกระบวนการยุติธรรมเข้าสู่กระบวนการคุ้มครอง
               สวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖

                           ๒. จัดท าบันทึกข้อตกลงการท างานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านการคุ้มครอง
               สวัสดิภาพเด็กที่ต้องหาว่ากระท าการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดแต่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ต้องรับโทษทางอาญา
                           ๓. เตรียมความพร้อมของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก ไม่ว่าจะเป็น

               การเพมจ านวนของพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งยังไม่เพยงพอและไม่ครอบคลุมทุกจังหวัด รวมถึงการส่งเสริม
                                                            ี
                     ิ่
               ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็กที่ต้องหาว่ากระท าความผิดอาญา แต่อายุไม่ถึงเกณฑ ์
               ต้องรับโทษทางอาญาให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของต ารวจ
                           ส าหรับแนวทางการคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็กที่ต้องหาว่ากระท าความผิดอาญา แต่อายุ
               ไม่ถึงเกณฑต้องรับโทษทางอาญา ตามระเบียบคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติว่าด้วยวิธีการคุ้มครอง
                          ์
               สวัสดิภาพเด็กที่ต้องหาว่ากระท าการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดแต่อายุยังไม่ถึงเกณฑต้องรับโทษ
                                                                                                  ์
               ทางอาญา พ.ศ. ๒๕๕๕ สรุปได้ดังนี้

                           ๑. ในกรณีที่พนักงานสอบสวนได้รับตัวเด็กที่ต้องหาว่ากระท าการอันกฎหมายบัญญัติ
                                             ์
               เป็นความผิด แต่อายุไม่ถึงเกณฑต้องรับโทษทางอาญาตามกฎหมายว่าด้วยศาลเยาวชนและครอบครัว
               และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว และมาตรา ๗๓ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ไว้ท าการสอบสวน
               ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กทราบก่อนที่จะมอบตัวเด็กให้อยู่ใน
               ความปกครองดูแลของบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลหรือองค์กรซึ่งเด็กอาศัยอยู่ด้วย หรือในกรณีที่เด็ก

               ไม่มีบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลหรือองค์กรซึ่งเด็กอาศัยอยู่ด้วย มอบตัวเด็กให้พนักงานเจ้าหน้าที่
               ดังกล่าว เพื่อด าเนินการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก

                           ๒. ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กซึ่งอยู่ในกรุงเทพมหานคร
               หรือในจังหวัดนั้น ๆ แล้วแต่กรณี รับตัวเด็กจากพนักงานสอบสวน เพื่อด าเนินการให้เด็กได้รับการคุ้มครอง
               สวัสดิภาพต่อไป

                           ๓. ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กที่ได้รับแจ้งจากพนักงานสอบสวน
               หรือได้รับตัวเด็กจากพนักงานสอบสวน ด าเนินการสืบเสาะและพินิจข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวเด็ก รวมทั้งให้สืบเสาะ

               ถึงสาเหตุแห่งการกระท าผิด ความสัมพันธ์ในครอบครัว ความเป็นอยู่ การเลี้ยงดู อุปนิสัย ความประพฤติของเด็ก
               และก าหนดแนวทางในการคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสมแก่เด็กนั้นด้วย โดยในการซักถามเด็ก ให้พนักงาน
               เจ้าหน้าที่ดังกล่าวด าเนินการตามมาตรา ๓๐ (๒) แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยเคร่งครัด

               หากพบว่าเป็นเด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ให้พิจารณาให้การสงเคราะห์ตามความเหมาะสม
                                                                  ิ
                           ๔. ในระหว่างการด าเนินการสืบเสาะและพนิจข้อเท็จจริง หากปรากฏว่า เด็กมีบิดา มารดา
               ผู้ปกครอง หรือบุคคลซึ่งเด็กอาศัยอยู่ด้วย ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก
               พิจารณามอบตัวเด็กให้แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลซึ่งเด็กอาศัยอยู่ด้วยรับไปดูแล ทั้งนี้ พนักงาน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69