Page 59 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 59
ส่วนที่ ๓ หน้า ๔๗
พิจารณาแนวทางความร่วมมือกับเครือข่ายพุทธศาสนิกสัมพันธ์เพื่อสังคม
(The International Network of Engaged Buddhist : INEB)
ในประเด็นด้านเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส กลุ่มชาติพันธุ์ และกลุ่มชายขอบ
ิ
ั
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มี
ื่
ิ
ั
ุ
ความหลากหลายทางเพศ ได้ประชุมเพอพจารณาแนวทางความร่วมมือกับเครือข่ายพทธศาสนิกสัมพนธ์
เพอสังคม (The International Network of Engaged Buddhist - INEB) ประกอบด้วยภิกษุ และภิกษุณี
ื่
ั
จากประเทศศรีลังกา และเมียนมา เกี่ยวกับแนวทางความร่วมมือด้านเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส กลุ่มชาติพนธุ์
และกลุ่มชายขอบ โดยสรุปสาระส าคัญได้ดังนี้
ุ
ื่
เครือข่ายพทธศาสนิกสัมพันธ์เพอสังคม (The International Network of Engaged Buddhist
- INEB) มีวัตถุประสงค์เพื่อจะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นที่ส าคัญ ๔ ประเด็น คือ ศาสนาพุทธกับสันติภาพ
การสร้างภาคีเพื่อสันติภาพ ความเสมอภาคเพื่อการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมของสังคมทุกกลุ่ม (Gender Equality
and Social Inclusion) และการพฒนาชุมชน (Community Engagement) โดยประเด็นส าคัญที่จะขอหารือ
ั
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณะกรรมาธิการ คือ กลุ่มชาติพนธุ์ ความเสมอภาคทางเพศ เด็ก เยาวชนที่หลุด
ั
ออกจากระบบ และสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) โดยผู้แทนของเครือข่ายจะประกอบด้วยภิกษุและภิกษุณี
ที่มีความสนใจและความเชี่ยวชาญในประเด็นทางสังคมด้านต่าง ๆ สิทธิมนุษยชน และสันติภาพ
ภิกษุผู้แทนเครือข่าย INEB ได้แสดงความกังวลและเรียกร้องสิทธิและความเสมอภาคของ
กลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ใน ๓ ด้าน คือ สิทธิสตรี ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์ม้งสตรีได้รับการปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกับชาย
หรือวัฒนธรรมชายเป็นใหญ่ ความเสมอภาคทางการศึกษาของเด็กและเยาวชน และสิทธิในที่ดินท ากิน
นอกจากนี้ เครือข่ายยังได้สอบถามเกี่ยวกับประเด็นนโยบายทางการศึกษาส าหรับบุตรหลานของแรงงาน
ชาวเมียนมาที่เข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย ความคืบหน้าเกี่ยวกับกฎหมายสมรสเท่าเทียม แนวทางรองรับ
ปัญหาสังคมสูงวัยโดยอาศัยความร่วมมือจากชุมชนและองค์กรทางศาสนา ตลอดจนการรับรองสถานะ
ทางกฎหมายของภิกษุณีในประเทศไทย
คณะกรรมาธิการได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นการพฒนาเหล่านี้ ที่เป็นความส าคัญ
ั
ั
ของการท างานด้านต่าง ๆ ถือเป็นฐานรากการพฒนา ตลอดจนกระบวนการนโยบายและทางกฎหมาย
ในประเทศไทย คณะกรรมาธิการได้ชี้แจงเกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทย
และโครงสร้างของฝ่ายนิติบัญญัติ
โดยในประเด็นด้านกลุ่มชาติพนธุ์ คณะกรรมาธิการเห็นด้วยอย่างยิ่งและได้น าเสนอรายงาน
ั
ิ
ผลการพจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ เกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว จ านวน ๒ ฉบับ ซึ่งได้รับความเห็นชอบ
ื่
จากที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรและได้น าเสนอต่อคณะรัฐมนตรีแล้ว เพอเป็นประโยชน์ต่อการน าไปปรับปรุง
แก้ไขทางนโยบายต่าง ๆ ซึ่งประเด็นทางการศึกษาส าหรับบุตรหลานแรงงานของต่างด้าวหรือกลุ่มชาติพันธุ์
คณะกรรมาธิการได้ยืนยันว่านโยบายการศึกษาของประเทศไทยนั้นเปิดกว้างและรองรับเด็กทุกคน แต่ในทาง
ปฏิบัติบางโรงเรียนอาจจะมีปัญหาทางการเบิกจ่ายงบประมาณรายหัว ปัญหาการออกประกาศนียบัตร
รับรองการจบการศึกษา และปัญหาเชิงวัฒนธรรมและการสื่อสารในห้องเรียน ซึ่งเป็นอุปสรรคส าคัญต่อ
การจัดการศึกษาให้แก่กลุ่มดังกล่าว…