Page 58 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 58

หน้า ๔๖                                                                              ส่วนที่ ๓



               แต่อย่างใด เพราะประเทศที่ถอนข้อสงวนแล้วโดยไม่ได้เป็นภาคีอนุสัญญามีเป็นจ านวนมาก ในอาเซียน

               ประเทศที่ถอนข้อสงวนโดยเป็นภาคีอนุสัญญามีเพียงประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศกัมพูชาเท่านั้น ส าหรับ
               ประเทศไทยแม้ไม่ได้เป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพของผู้ลี้ภัย แต่ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
               การคัดกรองคนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักรและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศอันเป็นภูมิล าเนาได้

               พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ประเทศไทยใช้เป็นหลักในการด าเนินการ ก็มีเจตนารมณ์ของกฎหมายที่สอดคล้องกับ
               หลักการห้ามผลักดันกลับ (non-refoulement) อยู่แล้ว
                                      ิ
                           ดังนั้น การพจารณาถอนข้อสงวนอาจต้องไปประเมินว่าหากได้มีการถอนข้อสงวนแล้ว สิทธิ
                                                                 ิ่
               ต่าง ๆ ที่เด็กพงได้รับตามอนุสัญญา จะมีข้อเรียกร้องเพมเติมหรือไม่ เช่น เรื่องการศึกษา ซึ่งจ าเป็นต้อง
                            ึ
               สอบถามหน่วยงานที่ปฏิบัติว่ามีความพร้อมที่จะจัดการเรื่องนี้แล้วหรือไม่ อย่างไร เป็นต้น
                           แม้ว่าจะมีความพยายามด าเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้มีการถอนข้อสงวนใน

               อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ข้อที่ ๒๒ เพอคงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์โดยไม่เลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่ง
                                                  ื่
                                                                                                    ี
               ความต่างในกฎหมายที่รับรองความเป็นพลเมืองของรัฐ แต่การด าเนินงานดังกล่าวยังเป็นเพยงข้อมูล
               เพื่อด าเนินการต่อไป ทั้งนี้ ภาคีของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก มีจ านวนทั้งสิ้น ๑๙๖ ประเทศ ส่วนอนุสัญญา
                                                              ิ
               ว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย มีจ านวน ๑๔๖ ประเทศ และพธีสารที่เกี่ยวข้อง จ านวน ๑๔๗ ประเทศ ซึ่งประเทศไทย
               ยังไม่ได้เข้าเป็นภาคีสมาชิกของอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ทั้งนี้ ข้อที่ ๒๒ ของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
               มีความยึดโยงกับการให้ความคุ้มครองสิทธิเด็กในอนุสัญญาฉบับอื่นด้วย ซึ่งอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย

               ก็เป็นหนึ่งในนั้น โดยหลักการ Non - refoulement ในทางระหว่างประเทศถือว่าเป็นกฎหมายจารีตประเพณี
               ไปแล้ว ซึ่งเป็นเรื่องส าคัญยิ่งกว่าการเข้าเป็นภาคีสมาชิกของศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) ที่เป็นเรื่อง

               ของการน าผู้ต้องหาที่ก่อคดีระหว่างประเทศไปขึ้นศาลอาญาระหว่างประเทศ โดยใช้หลักการเสริมเขต
               อ านาจศาลภายในประเทศ (Complementarity) ให้ประเทศที่สามารถจับกุมอาชญากรระหว่างประเทศ
                                                                                       ิ
               สามารถน าตัวไปด าเนินคดีในศาลอาญาของประเทศตนได้ก่อน หรือกรณีของพธีสารเพมเติม ฉบับที่ ๑
                                                                                              ิ่
               (Additional Protocol ๑) ซึ่งแม้ว่าจะเกี่ยวกับความขัดแย้งทางอาวุธระหว่างประเทศ (International Armed
               Conflict) แต่จะเป็นในส่วนของการดูแลเชลยศึก หรือพลเรือนที่ได้รับผลกระทบจากการท าสงคราม ซึ่งจะมี
               ความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานราชการหลายภาคส่วน โดยเฉพาะหน่วยงานด้านความมั่นคงของประเทศ

               ฉะนั้น ตราบใดที่หน่วยงานผู้ปฏิบัติยังมีข้อกังวลเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศที่อาจจะได้รับผลกระทบ
               ก็จ าเป็นที่จะต้องขจัดข้อกังวลเหล่านั้นให้ได้เสียก่อน.
                                     ิ
                           อนึ่ง การพจารณาเรื่องดังกล่าวนี้ คณะกรรมาธิการได้จัดงานสัมมนาเรื่อง ความเป็นไปได้
               และข้อห่วงใยในการถอนข้อสงวนในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ข้อที่ ๒๒ เมื่อวันอังคารที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๓

                                                    ื่
               โดยเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมเพอหาแนวทางที่ชัดเจนในการด าเนินการอีกด้วย ขณะเดียวกัน
               เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๔ สภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้มีการประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณา

                                                                                                      ิ
               ความเป็นไปได้ในการถอนข้อสงวน ข้อ ๒๒ ซึ่งที่ประชุมมีมติให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปศึกษาพจารณา
               โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (กรมกิจการเด็กและเยาวชน) เป็นหน่วยงานหลัก
               เพอจัดท าแผนปฏิบัติการในการถอนข้อสงวน และเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ได้มีการประชุมเพอพจารณา
                                                                                                    ื่
                  ื่
                                                                                                      ิ
               แผนปฏิบัติการระดับชาติในการถอนข้อสงวน ข้อ ๒๒ ในเรื่องการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กลี้ภัย ซึ่งจัดท า
               โดยกรมกิจการเด็และเยาวชน โดยเปลี่ยนชื่อแผนปฏิบัติการระดับชาติเป็นแนวทางการด าเนินการถอนข้อสงวน
               ข้อ ๒๒ ของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งมติที่ประชุมได้มอบให้กรมกิจการเด็กและเยาวชนน าความเห็น

               จากที่ประชุมไปด าเนินการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น พันธะกรณี และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63