Page 55 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 55

ส่วนที่ ๓                                                                            หน้า ๔๓



                                                                               ื้
                             ๓. ประเทศไทยดูแลคุ้มครองเด็กทุกคน ใน ๔ หลักการพนฐาน คือ (๑) สิทธิในการอยู่รอด
                               ั
               (๒) สิทธิในการพฒนา (๓) สิทธิในการรับการคุ้มครองปกป้อง และ (๔) สิทธิที่จะมีส่วนร่วม นอกจากนี้
               ยังรวมถึงหลักประโยชน์สูงสุดของเด็ก (The best interests of the child) และหลักการไม่เลือกปฏิบัติ

               (Non - discrimination)
                             ๔. ประเทศไทยเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศในโลกที่ยังไม่ได้ถอนข้อสงวนข้อที่ ๒๒
                                                                        ั
                             ๕. การถอนข้อสงวนข้อที่ ๒๒ ไม่เป็นข้อผูกพนที่ท าให้ประเทศไทยต้องเข้าเป็นภาคี
               ในอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ค.ศ. ๑๙๕๑ และไม่ใช่การยอมรับสถานภาพผู้ลี้ภัย
                             ๖. ประเทศไทยมีกฎหมาย แนวทาง และมาตรการปฏิบัติตาม และมากกว่าข้อที่ ๒๒ อยู่แล้ว

               โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ และด าเนินตามมาตรการที่เหมาะสม
                                                                                    ิ่
                             ๗. ประเทศไทยไม่จ าเป็นต้องตรากฎหมายใหม่หรือแก้ไขเพมเติมกฎหมาย รวมถึงไม่มี
               ค่าใช้จ่ายเพิ่มหากถอนข้อสงวน

                             ๘. ประเทศไทยยอมรับและให้การคุ้มครองผู้ลี้ภัย โดยมีระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี
               ว่าด้วยการคัดกรองคนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศอันเป็น

               ภูมิล าเนาได้ พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีมาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าว
               เพื่อรอการส่งกลับ
                             ๙) การถอนข้อสงวนจะเป็นภาพลักษณ์และมุมมองด้านบวกของประเทศไทยต่อนานาประเทศ

               และองค์การระหว่างประเทศ
                           ๑๐. กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในฐานะ
                                                                     ั
               ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการส่งเสริมการพฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) ที่มีนายกรัฐมนตรี
                                                         ั
               เป็นประธานกรรมการ ก าลังศึกษาเพื่อจัดท าข้อเสนอถึงคณะกรรมการส่งเสริมการพฒนาเด็กและเยาวชน
                                                                                          ั
               แห่งชาติ (กดยช.) เพื่อน าเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป
                           นอกจากนี้ ผู้แทนกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย ให้ข้อมูลแก่คณะกรรมาธิการ ดังนี้
                           อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ข้อที่ ๒๒ ก าหนดไว้ว่า “๑. รัฐภาคีจะด าเนินมาตรการที่เหมาะสม

                                                                            ิ
               ที่จะรับประกันว่า เด็กที่ร้องขอสถานะเป็นผู้ลี้ภัยหรือที่ได้รับการพจารณาเป็นผู้ลี้ภัยตามกฎหมายหรือ
               กระบวนการภายในหรือระหว่างประเทศที่ใช้บังคับ ไม่ว่าจะมีบิดามารดาของเด็กหรือบุคคลอื่น ติดตามมาด้วย

               หรือไม่ก็ตาม จะได้รับการคุ้มครองและความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมที่เหมาะสมในการได้รับสิทธิที่มีอยู่
               ตามที่ระบุไว้ในอนุสัญญานี้และในตราสารระหว่างประเทศอื่น ๆ อันเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหรือมนุษยธรรม
               ซึ่งรัฐดังกล่าวเป็นภาคี”

                                                                             ิ
                           “๒. เพอวัตถุประสงค์นี้ รัฐภาคีจะให้ความร่วมมือตามที่พจารณาว่าเหมาะสมแก่ความพยายาม
                                  ื่
               ใด ๆ ของทั้งองค์การสหประชาชาติ และองค์การระดับรัฐบาล หรือองค์การที่มิใช่ระดับรัฐบาลอื่นที่มีอ านาจ
               ซึ่งร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติในการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กเช่นว่า และในการติดตามหาบิดา
               มารดาหรือสมาชิกอื่นของครอบครัวของเด็กผู้ลี้ภัย เพื่อให้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่จ าเป็นส าหรับการกลบไปอยู่
                                                                                                      ั
               ร่วมกันใหม่เป็นครอบครัวของเด็ก ในกรณีที่ไม่สามารถค้นพบบิดามารดาหรือสมาชิกอื่น ๆ ของครอบครัว

               ของเด็กนั้น จะได้รับการคุ้มครองเช่นเดียวกับเด็กที่ถูกพรากจากสภาพครอบครัวทั้งที่เป็นการถาวรหรือ
               ชั่วคราวไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด ดังเช่นที่ได้ระบุไว้ในอนุสัญญานี้”
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60