Page 54 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 54
หน้า ๔๒ ส่วนที่ ๓
คณะกรรมาธิการส ารวจกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวข้องแล้ว พบว่า “ระเบียบส านัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการคัดกรองคนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศ
อันเป็นภูมิล าเนาได้ พ.ศ. ๒๕๖๒” เป็นกฎหมายที่ให้การคุ้มครองคนต่างด้าวที่เข้ามาในประเทศไทยและไม่
สามารถเดินทางกลับประเทศอันเป็นภูมิล าเนาได้ เนื่องจากมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าเมื่อถูกส่งกลับออกไป
นอกราชอาณาจักรแล้วจะได้รับอันตรายจากการถูกประหัตประหาร โดยให้ความคุ้มครองทั้งเด็กและผู้ใหญ่
แต่ประเทศไทยยังไม่ให้การรับรองสถานะผู้ลี้ภัย ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วรัฐบาลยังถือให้การด าเนินการ
ิ
ิ
บางอย่างเป็นดุลพนิจ โดยพจารณาได้จากหมวด ๒ การคัดกรองผู้ได้รับการคุ้มครอง ข้อ ๑๕ ที่ก าหนดให้
“ในระหว่างการด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือตามระเบียบนี้ หากพนักงานเจ้าหน้าที่
พบคนต่างด้าวที่อ้างตนว่ามีเหตุสมควรจะเป็นผู้ได้รับการคุ้มครอง ให้ชะลอการส่งตัวคนต่างด้าวนั้น
ออกไปนอกราชอาณาจักร เว้นแต่มีเหตุที่จะกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ” ซึ่งค าว่า “ชะลอ” หรือ
“Delay” ยังไม่เป็นไปตามหลักการ Non - refoulement เพราะเจตนารมณ์ของหลักการดังกล่าวเป็นไป
เพื่อไม่ให้ส่งตัวคนต่างด้าวออกนอกราชอาณาจักร ถ้าคนต่างด้าวนั้นจะมีภัยจากการประหัตประหาร
นอกจากนี้ ในข้อ ๒๐ ก าหนดให้ “คณะกรรมการพจารณาคัดกรองค าขอเป็นผู้ได้รับการคุ้มครอง
ิ
์
ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ิ
ทั้งนี้ ให้ค านึงถึงหลักความเป็นเอกภาพของครอบครัว สิทธิในการได้รับความช่วยเหลือในการพจารณาค าขอ
ิ
ั
พนธกรณีระหว่างประเทศ และนโยบายตามมติคณะรัฐมนตรีประกอบด้วย” ซึ่งเมื่อพจารณาสาระส าคัญ
ของระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีฉบับดังกล่าวแล้วจะเห็นได้ว่า ระเบียบดังกล่าวยังไม่รองรับการปฏิบัติตาม
พนธกรณีตามหลักการ Non - Refoulement ฉะนั้น ในเมื่อประเทศไทยยังไม่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ั
ื่
หรือแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเพอปฏิบัติตามหลักการ Non - Refoulement การที่จะถอนข้อสงวนข้อที่ ๒๒
จะส่งผลให้ประเทศไทยไม่มีข้ออ้างที่ชอบธรรมในการป้องกันประเทศจากภัยที่กระทบต่อความมั่นคง
ของประเทศ ดังนั้น จึงเห็นว่าควรมีการทบทวนบทบัญญัติในระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการคัดกรอง
คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศอันเป็นภูมิล าเนาได้ พ.ศ. ๒๕๖๒
โดยควรมีการระบุให้ชัดเจนเกี่ยวกับหลักการ Non - Refoulement ของเด็กต่างด้าวที่เดินทางเข้ามา
ภายในประเทศเพื่อขอสถานะผู้ลี้ภัย
ื่
คณะกรรมาธิการจึงได้จัดสัมมนาเพอแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เรื่อง “ความ
เป็นไปได้และข้อห่วงใยในการถอนข้อสงวนในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ข้อที่ ๒๒” ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันอังคารที่
๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๓ มีข้อสรุปทั้งสิ้น ๑๐ ประการ ดังต่อไปนี้
๑. ปัจจุบันมีผู้ลี้ภัยหรือผู้หนีภัยจากการสู้รบหรือผู้พลัดถิ่นราวแสนคน จ าแนกเป็นอยู่ในค่าย
ั
ั
ิ
ผู้ลี้ภัยหรือที่พกพงชั่วคราวหรือที่พกรอประมาณ ๙๐,๐๐๐ กว่าคน และอยู่ในเมือง ๕,๐๐๐ กว่าคน
ั
ิ
ซึ่งจ านวนดังกล่าวไม่รวมถึงจ านวนผู้ลี้ภัยหรือผู้หนีภัยสงครามที่ไม่ได้อยู่ในที่พกพง (ซึ่งองค์กรภาคเอกชน
ได้มีการประเมินไว้ว่าอาจจะมีจ านวนถึง ๓ แสนคน)
๒. ประเทศไทยปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยรวมทั้งเด็กลูกผู้ลี้ภัย ตามหลักสากล ๓ ประการ คือ
(๑) รับผู้ลี้ภัยให้ปลอดภัย โดยไม่ผลักดันหรือส่งกลับไปสู่อันตรายหรือความตาย (๒) ให้ปัจจัยสี่ และ
(๓) ให้อยู่ชั่วคราว โดยไม่ลงโทษกุมขัง