Page 49 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 49

ส่วนที่ ๓                                                                            หน้า ๓๗



                             - มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อม

               ได้รับความคุ้มครอง
                             - มาตรา ๒๗ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครอง
               ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่อง.....

               หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่น จะกระท ามิได้
                             - มาตรา ๒๘ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การจับกุมคุมขังบุคคล
               จะกระท ามิได้ เว้นแต่มีค าสั่งหรือหมายของศาล

                             - มาตรา ๒๙
                               (๑) บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระท าการอันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระท า
               นั้นบัญญัติเป็นความผิดและก าหนดโทษไว้

                               (๒) ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่มีความผิด และก่อนมี
               ค าพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระท าความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระท าผิดมิได้

                               (๓) การควบคุมหรือคุมขังผู้ต้องหาหรือจ าเลยให้กระท าได้เพียงเท่าที่จ าเป็น เพื่อป้องกัน
               มิให้มีการหลบหนี
                                                                                          ิ
                               (๔) ค าขอประกันผู้ต้องหาหรือจ าเลยในคดีอาญาต้องได้รับการพจารณาและจะเรียก
               หลักประกันจนเกินควรแก่กรณีมิได้ การไม่ให้ประกันต้องเป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด

                                                                                                         ิ
                             - มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพด การเขียน การพมพ        ์
                                                                                         ู
               การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจ ากัดเสรีภาพที่ว่านี้จะกระท ามิได้
                               ั
                                                         ื่
                           ๓. พนธกรณีระหว่างประเทศ เพอการคุ้มครองเด็กและเยาวชน มีการรับรองสิทธิของเด็ก
               และเยาวชนในอนุสัญญาหรือปฏิญญาระหว่างประเทศ ดังนี้
                             อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child : CRC)
                             ก าหนดให้ รัฐภาคีต้องยอมรับสิทธิของเด็กที่ถูกกล่าวหา รวมถึงการตั้งข้อหาว่าได้มี

               การฝ่าฝืนกฎหมายอาญา อย่างน้อยต้องได้รับหลักประกัน ดังนี้
                             (๑) สันนิษฐานว่าบริสุทธิ์จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่ามีความผิดตามกฎหมาย
                             (๒) ได้รับการแจ้งข้อหาในทันทีและโดยตรง ซึ่งต้องได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมาย

               หรือทางอื่นอย่างเหมาะสม
                             (๓) ได้รับการตัดสินโดยไม่ชักช้า
                             (๔) จะไม่ถูกบังคับให้เบิกความหรือรับสารภาพ

                             (๕) ในทุกขั้นตอนของกระบวนการพจารณาต้องให้ความเคารพต่อสิทธิส่วนตัวของเด็ก
                                                               ิ
               อย่างเต็มที่ ส่งเสริมความส านึกในศักดิ์ศรีและคุณค่าของเด็ก
                             ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights : UDHR)

                             ข้อ ๒ บุคคลชอบที่จะมีสิทธิและเสรีภาพประดาที่ระบุไว้ในปฏิญญานี้ ทั้งนี้ โดยไม่มีการ
               จ าแนกความแตกต่างในเรื่องใด ๆ เช่น เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมืองหรือทางอื่น
               ใด ชาติหรือสังคมอันเป็นที่มาเดิม ทรัพย์สิน ก าเนิด หรือสถานะอื่นใด

                             ข้อ ๑๐ บุคคลชอบที่จะเท่าเทียมกันอย่างบริบูรณ์ในอันที่จะได้รับการพิจารณาอย่างเป็นธรรม
               และเปิดเผยโดยศาลซึ่งเป็นอิสระและไร้อคติ ในการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ ตลอดจนข้อที่ตนถูก
               กล่าวหาใด ๆ ทางอาญา
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54