Page 44 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 44

หน้า ๓๒                                                                              ส่วนที่ ๓



                                    พิจารณาศึกษามาตรการคุ้มครองดูแลเด็กและเยาวชน

                                         ที่ถูกด าเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับการชุมนุม


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
                           ิ
               ทางเพศ ได้พจารณาศึกษามาตรการคุ้มครองดูแลเด็กและเยาวชนที่ถูกด าเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับการชุมนุม
               โดยเชิญ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงยุติธรรม และผู้บัญชาการ
               ต ารวจแห่งชาติ เข้าร่วมให้ข้อมูล ข้อเสนอแนะ และแสดงความคิดเห็นในประเด็นเกี่ยวกับมาตรการคุ้มครอง
               ดูแลเด็กและเยาวชนที่ถูกด าเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับการชุมนุม ในเบื้องต้น คณะกรรมาธิการได้มีประเด็น

               การพิจารณา ดังนี้
                           ๑. จ านวนเด็กและเยาวชนที่เป็นผู้ต้องหาคดีที่เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุม โดยแบ่งเป็น

               ผู้ที่ถูกออกหมายเรียกจ านวนเท่าไร และมีผู้ที่ถูกออกหมายจับจ านวนเท่าใด รวมทั้งเป็นผู้ที่ถูกออก
               หมายเรียกเป็นพยานจ านวนเท่าใด
                           ๒. ส านักงานต ารวจแห่งชาติมีดุลยพินิจในการออกหมายเรียกและหมายจับอย่างไร

                           ๓. พนักงานสอบสวนมีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการบังคับใช้กฎหมายในชั้นสอบสวนอย่างไร
               โดยเฉพาะประเด็นการตีความมาตรา ๑๓๔/๒ ของประมวลกฎหมายวิธีการพิจารณาความอาญา ซึ่งในกรณี

               ที่น ามาตรานี้มาใช้โดยอนุโลมกับในกรณีมาตรา ๑๓๓ ทวิ ที่ใช้กับผู้เสียหายหรือพยานหรือไม่ อย่างไร รวมทั้ง
               ในกรณีการอนุโลมเช่นนี้ หากเด็กและเยาวชนไม่ประสงค์ให้มีกระบวนการร่วมสอบหรือการบันทึกภาพและเสียง
               สามารถปฏิเสธกระบวนการดังกล่าวได้หรือไม่

                                             ื่
                                         ิ
                           ๔. การใช้ดุลยพนิจเพอน าเด็กและเยาวชนไปยังศาลเยาวชนและครอบครัว หลังจากกระบวนการ
               สอบสวนเสร็จสิ้นนั้น เป็นสิ่งที่เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร
                           ๕. การชุมนุมและการจับกุมเด็กและเยาวชนในคดีที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมเป็นสิ่งที่ส่งผลกระทบ
               ต่อเด็กและเยาวชน สังคม และประชาคมโลกอย่างไร
                                                                    ิ
                           ๖. แบบฟอร์มคัดกรองส าหรับการสืบเสาะและพนิจจ าเป็นต้องมีค าถามที่เกี่ยวข้องกับเพศภาวะ
               หรือเพศวิถีของเด็กและเยาวชนที่อยู่ในกระบวนการดังกล่าว ซึ่งเป็นค าถามที่เกี่ยวข้องกับสิทธิส่วนบุคคล
               ของเด็กและเยาวชน หรือไม่ เพราะเหตุใด นอกจากนี้ ต ารวจจะทราบผลการสืบเสาะและพินิจภายในเวลากี่วัน

                           ๗. วิธีการสอบปากค าเด็กและเยาวชนในคดีความผิดเกี่ยวกับการชุมนุม ซึ่งด าเนินการตาม
               มาตรา ๑๓๔/๒ ประกอบกับมาตรา ๑๓๓ ทวิ ของประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา ได้มีนักจิตวิทยา
                                                                              ิ
               หรือนักสังคมสงเคราะห์ เข้าร่วมในกระบวนการสอบปากค านั้นด้วยหรือไม่

                           ๘. มีการตรวจสอบหรือทบทวนมาตรฐานความรู้ความเข้าใจของนักจิตวิทยาซึ่งอยู่ภายใต้
               การก ากับดูแลของกระทรวงยุติธรรมและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ หรือไม่

                           ๙. ที่ประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติเคยมีการพิจารณาประเด็นระบบการให้ค าปรึกษา
               เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนที่ถูกด าเนินคดี และกระบวนการละเมิดซ้ าต่อเด็กที่ถูกด าเนินคดี หรือไม่
                           ในการนี้ ผู้แทนปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ให้ข้อมูลบทบาท

               หน้าที่และการคุ้มครองเด็กและเยาวชนที่ถูกด าเนินคดีในฐานความผิดเกี่ยวกับการชุมนุม แก่ที่ประชุม
               สรุปสาระส าคัญได้ดังนี้
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49