Page 40 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 40

หน้า ๒๘                                                                              ส่วนที่ ๓



                           ๓. ส่งเสริมให้โรงเรียนทุกแห่งมีนโยบายคุ้มครองเด็กในโรงเรียน รวมถึงจัดให้มีพื้นที่ปลอดภัย

               (Safety Zone) ส าหรับเด็กเป็นการเฉพาะ
                           ๔. จัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา

                           ๕. จัดให้มีระบบสนับสนุนและช่วยเหลือครู และบุคลากรทางการศึกษา ในการแก้ไขปัญหา
               เกี่ยวกับเด็ก รวมถึงการแก้ปัญหาเรื่องส่วนตัวของครูที่ส่งผลต่อการดูแลนักเรียน นักศึกษา
                           ผู้แทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมว่า การด าเนินงานของกระทรวง

                                                                                                   ื่
               สาธารณสุขด้านการดูแลช่วยเหลือเด็กที่ถูกท าร้ายหรือกระท าความรุนแรง มีการจัดตั้งศูนย์พึ่งได้ เพอท าหน้าที่
               ในด้านให้ความช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระท าความรุนแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งจากกรณีปัญหา

               ดังกล่าว การดูแลเด็กของกระทรวงสาธารณสุขจะมีการคัดกรองเด็กเล็กในโรงเรียนออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ
                                                      ี่
               โดยจะแบ่งเป็นกรณีที่มีการด าเนินคดีกับครูพเลี้ยงที่กระท าความผิดกับที่ไม่มีการด าเนินคดีด้วย ซึ่งมาตรการ
               ดูแลเยียวยาเด็กและผู้ปกครองนั้น ในระยะสั้นมีการดูแลทั้งด้านร่างกายและด้านจิตใจตามมาตรฐาน

               โดยกรมสุขภาพจิตมีการประเมินและเข้าดูแลเยียวยาด้านจิตใจให้แก่ผู้ปกครองของเด็ก ส าหรับแผนระยะยาว
               มีการวางไว้ว่าจะต้องมีการดูแลด้านจิตใจและบุคลิกลักษณะของครูในโรงเรียนต่าง ๆ ด้วย

                           ผู้แทนเลขาธิการส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐาน ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมว่า
                                                                               ื้
               จากกรณีปัญหาโรงเรียนดังกล่าวไม่ได้อยู่ในสังกัดของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงไม่ได้
               เข้าร่วมด าเนินการด้วย โดยส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐานมีหน้าที่ด าเนินการเฉพาะการศึกษา
                                                                         ื้
               ของโรงเรียนในสังกัดระดับปฐมวัยจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งมาตรการในการศึกษาระดับปฐมวัย
                                                   ุ
               เป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทธศักราช ๒๕๖๐ ส าหรับศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือ
               เด็กนักเรียนมีหน้าที่ดูแลเฉพาะปัญหาการล่วงละเมิดทางร่างกายและจิตใจจากบุคลากรทางการศึกษาด้วยกัน
                           ผู้แทนเลขาธิการส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมว่า

               โรงเรียนเอกชนจะด าเนินการในรูปแบบของนิติบุคคล ส าหรับโรงเรียนเครือสารสาสน์มีการบริหารโรงเรียน
               โดยรับเงินอุดหนุนจากรัฐร้อยละ ๗๐ และบริหารจัดการด้วยเงินของตนเองร้อยละ ๓๐ โดยหลักสูตร
                                                                ื้
               การเรียนการสอนเป็นไปตามแบบของการศึกษาขั้นพนฐาน ส าหรับครูที่สอนในโรงเรียนเอกชนทุกแห่ง
                                                                ี่
               ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครูที่ออกโดยคุรุสภา แต่ครูพเลี้ยงไม่ใช่ครูตามระเบียบจึงไม่ต้องมีใบประกอบ
                                       ี่
               วิชาชีพครู ซึ่งการรับครูพเลี้ยงเข้าสอนในโรงเรียนจะเป็นไปตามหลักเกณฑที่แต่ละโรงเรียนก าหนด
                                                                                      ์
                                                                                                   ์
               ซึ่งส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนไม่มีหน้าที่และอ านาจก าหนดหลักเกณฑดังกล่าวได้
                                                ิ
                                                                          ื่
               ทั้งนี้ แนวทางแก้ไขปัญหาได้มีการพจารณากฎ ระเบียบต่าง ๆ เพออุดช่องว่างที่ก่อให้เกิดปัญหา รวมถึง
               การแผนงานที่จะจัดการอบรมให้ความรู้และปรัชญาการท างานที่ดีแก่ครูและครูพี่เลี้ยงด้วย
                                                                                                        ี่
                           ผู้แทนผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาติ ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมว่า การด าเนินคดีกับครูพเลี้ยง
               ที่ท าร้ายร่างกายเด็กเล็กในโรงเรียนนั้น ในการตั้งข้อหามีการพจารณาจากสภาพจิตใจของเด็กที่ถูกกระท า
                                                                      ิ
                                                                                  ี่
               ประกอบกับบันทึกความเห็นของจิตแพทย์เป็นหลัก จึงได้ตั้งข้อหากับครูพเลี้ยงที่กระท าความผิดว่าเป็น
               ความผิดฐานท าร้ายร่างกายเป็นเหตุให้เด็กได้รับอันตรายแก่ร่างกายและจิตใจ ตามประมวลกฎหมายอาญา
                                    ี่
               มาตรา ๒๙๕ ส่วนครูพเลี้ยงคนอื่นที่อยู่ในเหตุการณ์ขณะกระท าความผิดแต่ไม่ได้เป็นผู้ท าร้ายร่างกายเด็ก
               โดยตรง มีการตั้งข้อหาในฐานละเว้นและเป็นผู้สนับสนุนผู้อื่นในการกระท าความผิด รวมถึงมีการด าเนินคดี
               แก่โรงเรียนต้นสังกัดด้วย
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45