Page 45 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 45
ส่วนที่ ๓ หน้า ๓๓
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
คือ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ซึ่งมีบทบาทด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
พุทธศักราช ๒๕๔๖ โดยมีหน้าที่หลัก ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านการส่งเสริมพัฒนาเด็ก ด้านการคุ้มครองสวัสดิภาพ
และด้านการจัดสวัสดิการแก่เด็ก
ในประเด็นคดีของเด็กและเยาวชนที่ชุมนุมมิได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับบทบาทของกรมกิจการเด็ก
และเยาวชน อย่างไรก็ตาม กรณีที่มีการชุมนุม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ก็มีการ
ื่
มอบหมายเจ้าหน้าที่สังเกตการณ์ชุมนุม เพอดูแลให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีอายุต่ ากว่า ๑๘ ปี ทั้งนี้ หากเกิด
การด าเนินคดีจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับอ านาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ต ารวจ ซึ่งในกระบวนการสอบสวนเด็ก
ั
และเยาวชนที่ถูกด าเนินคดี ส านักงานต ารวจแห่งชาติสามารถประสานงานกับกระทรวงการพฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ เพอมอบหมายนักสังคมสงเคราะห์เข้าร่วมกระบวนการสอบสวน ตามหลัก
ื่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๓๔/๒ ประกอบมาตรา ๑๓๓ ทวิ
ส าหรับประเด็นความเหมาะสมของค าถามที่เกี่ยวข้องกับเพศ ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ได้ชี้แจงว่า ค าถาม ๓๒ ข้อในแบบฟอร์มดังกล่าวนั้น เป็นการประเมินข้อมูล
ในเบื้องต้นของเด็กและเยาวชน ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับการท าให้เด็กได้รู้จัก เข้าใจและยอมรับตนเอง
ั
ั
ซึ่งจะช่วยส่งเสริมความสัมพนธ์ระหว่างเด็กกับครอบครัวและชุมชนได้ดียิ่งขึ้น โดยค าถามเกี่ยวกับเพศสัมพนธ์
จะขึ้นอยู่กับดุลพินิจของนักสังคมสงเคราะห์หรือเจ้าหน้าที่ผู้คัดกรองว่า มีข้อสังเกตเกี่ยวกับประเด็นเพศหรือไม่
ั
นอกจากนี้ ผู้แทนกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ
ผลกระทบของการชุมนุมว่า การชุมนุมเป็นสิ่งที่เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้ใช้สิทธิในการมีส่วนร่วม
ทางการเมือง ใช้สิทธิแสดงความคิดเห็นตามระบอบประชาธิปไตย ทั้งนี้ อาจส่งผลเสียต่อเด็ก คือ ความเสี่ยง
ต่อภัยอันตราย ในส่วนของผลกระทบต่อประชาชนทั่วไป คือ ได้เห็นประชาธิปไตยในประเทศที่เปิดโอกาส
ให้คนทุกภาคส่วนได้แสดงความคิดเห็น แต่การชุมนุมอาจส่งผลต่อความยากล าบากในการเดินทาง นอกจากนี้
การชุมนุมส่งผลให้ประชาคมโลกได้เห็นถึงการมีระบอบประชาธิปไตยที่เปิดโอกาสในรับฟงความคิดเห็น
ั
อย่างไรก็ตาม หากมีการเกิดอันตรายที่เกิดจากการชุมนุมต่อเด็กอายุต่ ากว่า ๑๘ ปี อาจส่งผลให้ประชาคมโลก
ต าหนิประเทศไทย ในฐานะเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ดังนั้น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ก าลังจะน าประเด็นการคุ้มครองหรือป้องกันเด็กและเยาวชนจากเหตุอันตรายจากการชุมนุม
เสนอต่อคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
ั
อนึ่ง ผู้แทนกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุง
ื่
แก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ บางประเด็นเพอให้สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน
โดยเฉพาะการอบรมดูแลให้เด็กมีพฒนาการที่เหมาะสมและกระบวนการป้องกันมิให้เด็กถูกทารุณกรรม
ั
ื่
และการจัดพื้นที่ปลอดภัยแก่เด็กและเยาวชน ส าหรับจัดการชุมนุมในแต่ละจังหวัด เพอจะได้รับฟังความคิดเห็น
ที่เป็นประโยชน์จากเด็กและเยาวชน รวมทั้งส่งผลดีต่อภาพลักษณ์ของหน่วยงานภาครัฐอีกด้วย
ผู้แทนส านักงานต ารวจแห่งชาติ ได้ชี้แจงข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการ สรุปได้ดังนี้
ในการด าเนินคดีต่อเด็กและเยาวชนในฐานความผิดเกี่ยวกับการชุมนุมนั้น ส านักงานต ารวจแห่งชาติ
ิ
จะพจารณาด าเนินคดีเฉพาะรายที่มีความผิดอย่างชัดแจ้ง หรือมีการร้องทุกข์กล่าวโทษแล้ว โดยผู้แทน
ส านักงานต ารวจแห่งชาติได้ยืนยันว่า กระบวนการด าเนินคดีดังกล่าวในทุกกรณีจะมีการออกหมายเรียก
ก่อนการออกหมายจับ และด าเนินการถูกต้องตามหลักกฎหมาย ทั้งนี้ ส าหรับกรณีการจับกุมเด็กและเยาวชน