Page 48 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 48

หน้า ๓๖                                                                              ส่วนที่ ๓



                             (๓) ในกรณีที่ศาลมอบตัวเด็กให้แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เด็กนั้นอาศัยอยู่

               ตาม (๒) ศาลจะก าหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติเด็กนั้นเช่นเดียวกับที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๕๖ ด้วยก็ได้
               ในกรณีเช่นว่านี้ ให้ศาลแต่งตั้งพนักงานคุมประพฤติหรือพนักงานอื่นใดเพื่อคุมความประพฤติเด็กนั้น

                             (๔) ถ้าเด็กนั้นไม่มีบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง หรือมีแต่ศาลเห็นว่าไม่สามารถดูแลเด็กนั้น
               ได้หรือถ้าเด็กอาศัยอยู่กับบุคคลอื่นนอกจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง และบุคคลนั้นไม่ยอมรับข้อก าหนด
                                                                                                       ื่
               ดังกล่าวใน (๒) ศาลจะมีค าสั่งให้มอบตัวเด็กนั้นให้อยู่กับบุคคลหรือองค์การที่ศาลเห็นสมควรเพอดูแล
               อบรม และสั่งสอนตามระยะเวลาที่ศาลก าหนดก็ได้ในเมื่อบุคคลหรือองค์การนั้นยินยอม ในกรณีเช่นว่านี้
                                                                 ื่
               ให้บุคคลหรือองค์การนั้นมีอ านาจเช่นผู้ปกครองเฉพาะเพอดูแล อบรม และสั่งสอน รวมตลอดถึงการก าหนด
               ที่อยู่และการจัดให้เด็กมีงานท าตามสมควร หรือให้ด าเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามกฎหมายว่าด้วย
               การนั้นก็ได้
                                                                                                        ื่
                             (๕) ส่งตัวเด็กนั้นไปยังโรงเรียน หรือสถานฝึกและอบรม หรือสถานที่ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพอฝึก
               และอบรมเด็ก ตลอดระยะเวลาที่ศาลก าหนด แต่อย่าให้เกินกว่าที่เด็กนั้นจะมีอายุครบ ๑๘ ปี
                             ค าสั่งของศาลดังกล่าวใน (๒) (๓) (๔) และ (๕) นั้น ถ้าในขณะใดภายในระยะเวลาที่ศาล

               ก าหนดไว้ ความปรากฏแก่ศาลโดยศาลรู้เอง หรือตามค าเสนอของผู้มีส่วนได้เสีย พนักงานอัยการ หรือบุคคล
               หรือองค์การที่ศาลมอบตัวเด็กเพื่อดูแล อบรมและสั่งสอน หรือเจ้าพนักงานว่า พฤติการณ์เกี่ยวกับค าสั่งนั้น
               ได้เปลี่ยนแปลงไป ก็ให้ศาลมีอ านาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขค าสั่งนั้น หรือมีค าสั่งใหม่ตามอ านาจในมาตรานี้

                             พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
                                                                              ิ
               พ.ศ. ๒๕๕๓

                             พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
                                                                              ิ
                                                                                                      ิ
               พ.ศ. ๒๕๕๓ นอกจากก าหนดนิยามต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนแล้ว ยังมีการก าหนดให้ในการพจารณา
               ออกหมายจับเด็กหรือเยาวชนซึ่งต้องหาว่ากระท าความผิด ให้ศาลค านึงถึงการคุ้มครองสิทธิเด็กหรือเยาวชน
               เป็นส าคัญ โดยเฉพาะในเรื่องอายุ เพศ และอนาคตของเด็กหรือเยาวชนที่พงได้รับการพฒนาและปกป้อง
                                                                                             ั
                                                                                  ึ
               คุ้มครอง หากการออกหมายจับจะมีผลกระทบกระเทือนต่อจิตใจของเด็กหรือเยาวชนอย่างรุนแรงโดยไม่จ าเป็น
               ให้พยายามเลี่ยงการออกหมายจับ โดยใช้วิธีติดตามตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นด้วยวิธีอื่นก่อน นอกจากนี้ ในการ
               จับกุมเด็กหรือเยาวชนซึ่งต้องหาว่ากระท าความผิด ให้แจ้งแก่เด็กหรือเยาวชนนั้นว่าเขาต้องถูกจับ และแจ้ง

               ข้อกล่าวหารวมทั้งสิทธิตามกฎหมายให้ทราบ หากมีหมายจับให้แสดงต่อผู้ถูกจับ แล้วน าตัวผู้ถูกจับไปยัง
                                                                   ื่
               ที่ท าการของพนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ที่ถูกจับทันที เพอให้พนักงานสอบสวนของท้องที่ดังกล่าวส่งตัว
               ผู้ถูกจับไปยังที่ท าการของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบโดยเร็ว

                             ทั้งนี้ ที่ประชุมเห็นสมควรพิจารณาบางประเด็นที่พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
               บังคับใช้ มาประกอบการพิจารณาด้วย

                           ๒. หลักพนฐานสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญ
                                    ื้
               พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีการบัญญัติเกี่ยวกับปกป้องและคุ้มครองสิทธิของเด็กและเยาวชน ตั้งแต่ในค าปรารภ
               และในหลายมาตรา ดังนี้
                             - ค าปรารภ

                               “...การรับรอง ปกป้อง  และคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทยให้ชัดเจนและ
               ครอบคลุมอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยถือว่าการมีสิทธิเสรีภาพเป็นหลักการ จ ากัดตัดสิทธิเป็นข้อยกเว้น...”
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53