Page 50 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 50

หน้า ๓๘                                                                              ส่วนที่ ๓



                             ข้อ ๑๑

                             ๑. บุคคลซึ่งถูกกล่าวหาด้วยความผิดทางอาญา สิทธิที่จะได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อน
                                         ิ
                                                                             ิ
               ว่าบริสุทธิ์จนกว่าจะมีการพสูจน์ว่ามีความผิดตามกฎหมายในการพจารณาโดยเปิดเผย ณ ที่ซึ่งตนได้
               หลักประกันทั้งหมดที่จ าเป็นในการต่อสู้คดี
                             ๒. บุคคลใดจะถูกถือว่ามีความผิดอันมีโทษทางอาญาใด ๆ ด้วยเหตุผลที่ตนได้กระท า
               หรือเว้นการกระท าการใด ๆ ซึ่งกฎหมายของประเทศหรือกฎหมายระหว่างประเทศ ในขณะที่มีการกระท านั้น

               มิได้ระบุว่าเป็นความผิดทางอาญามิได้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่ใช้อยู่ในขณะที่การกระท า
               ความผิดทางอาญานั้นเกิดขึ้นมิได้

                             กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant
               on Civil and Political Rights ๑๙๖๖ : ICCPR)
                             ๑. รัฐภาคีจะเคารพสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของบุคคล ซึ่งรวมถึงสิทธิในชีวิต

               เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในการพด เสรีภาพในการการรวมตัว สิทธิเลือกตั้ง และสิทธิในการ
                                                        ู
               ได้รับการพิจารณาความอาญาอย่างยุติธรรม

                             ๒. บุคคลทั้งปวงย่อมเสมอกันตามกฎหมาย และมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกัน
                                                                                     ั
               ตามกฎหมาย โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ๆ อันเนื่องมาจากเชื้อชาติ เผ่าพนธุ์แห่งชาติ ผิว เพศ ภาษา
               ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง หรือความคิดเห็นอื่นใด

                                                                                   ิ
                             ๓. ในการด าเนินคดีกับบุคคลที่เป็นเด็กหรือเยาวชน วิธีพจารณาความให้เป็นไปโดย
               ค านึงถึงอายุและความปรารถนาที่จะส่งเสริมการแก้ไขฟื้นฟูความประพฤติของบุคคลนั้น

                             ๔. บุคคลทั้งปวงที่ถูกลิดรอนเสรีภาพต้องได้รับการปฏิบัติด้วยความมีมนุษยธรรม และเคารพ
               ในศักดิ์ศรีแต่ก าเนิดแห่งความเป็นมนุษย์ ทั้งนี้ ในสภาพการณ์พิเศษ ผู้ต้องหาต้องได้รับการจ าแนกออกจาก

               ผู้ต้องโทษ และต้องได้รับการปฏิบัติที่แตกต่างออกไปให้เหมาะสมกับสถานะที่ไม่ใช่ผู้ต้องโทษ อีกทั้งต้องแยก
               ผู้ต้องหาที่เป็นเด็กและเยาวชนออกจากผู้ต้องหาที่เป็นผู้ใหญ่ และให้น าตัวเข้าสู่การพจารณาพพากษาคดี
                                                                                                   ิ
                                                                                           ิ
               ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะท าได้
                                               ์
                             ๕. ระบบราชทัณฑต้องปฏิบัติต่อนักโทษ โดยมีจุดมุ่งหมายส าคัญที่จะให้นักโทษกลับตัว
                          ื้
                             ู
               ได้รับการฟนฟทางสังคม ผู้ที่กระท าผิดที่เป็นเด็กและเยาวชนต้องได้รับการจ าแนกออกจากผู้กระท าผิด
               ที่เป็นผู้ใหญ่ และต้องได้รับการปฏิบัติให้เหมาะสมกับวัยและสถานะทางกฎหมาย
                                                     ั
                                                                                             ิ
                             อย่างไรก็ตาม ในประเด็นพนธกรณีระหว่างประเทศนี้ คณะกรรมาธิการพจารณาแล้วเห็นว่า
               ควรต้องมีการเพมเติมข้อมูลส าคัญเกี่ยวกับการบริหารกระบวนงานยุติธรรมต่อเยาวชน ได้แก่ กฎแห่งกรุงปักกิ่ง
                             ิ่
               (กฎอันเป็นมาตรฐานขั้นต่ าของสหประชาชาติ ว่าด้วยการบริหารงานยุติธรรมเกี่ยวแก่คดีเด็กและเยาวชน –
               The United Nations Standard Minimum Rules for the Administration of Juvenile Justice/ The Beijing

               Rules) และกฎแห่งกรุงฮาวานา (กฎสหประชาชาติว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและเยาวชนซึ่งถูกลิดรอนเสรีภาพ -
               The United Nations Rules for the Protection of Juveniles Deprived of Their Liberty / The Havana
               Rules) ซึ่งกฎ ๒ ฉบับนี้จะเป็นพื้นฐานส าคัญเกี่ยวกับมาตรฐานการดูแลเด็กในกระบวนการยุติธรรมของนานาชาติ

               รวมทั้งควรเพิ่มหลักการ ๔ ประการของอนุสัญญาสิทธิเด็ก อันได้แก่ สิทธิในการมีชีวิตรอด สิทธิในการได้รับ
               การปกป้องคุ้มครอง สิทธิในการได้รับการพัฒนา และสิทธิในการมีส่วนร่วม
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55