Page 37 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 37
่
ส่วนที ๓ หน้า ๒๕
้
้
้
้
่
๕. การสร้างระบบคุมครองทางสังคม (social protection) เพือคุมครองสิทธิขันพืนฐาน
ของประชาชนทุกคนตามทีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติไว้ ซึงครอบคลุมถึงการจัดโครงข่าย
่
่
้
้
ุ
่
การคมครองทางสังคม (Social Safety Nets) สําหรับผูด้อยโอกาสและคนยากจน การจัดการกับความเสียง
ั
้
ั
่
ทางสังคม (Social Risk Management) ทีอาจเกิดขึนจากวิกฤตทางเศรษฐกิจ สังคม และภยพิบติต่าง ๆ
ี
้
้
่
้
ุ
ี
ระบบการคุมครองทางสังคมทังหลายเหล่านี หากพัฒนาให้มคณภาพ มการบริหารจัดการทีดี และม ี
ุ
่
ประสิทธิภาพ จะช่วยสร้างหลักประกันทําให้คนมีคณภาพชีวิตทีดี และสามารถพัฒนาศักยภาพของตน
้
้
และสังคมได้อย่างเต็มทีทังในด้านสุขภาพ พลานามัย ความรู ชีวิตการทํางาน รายได้และการกระจายรายได้
่
่
่
ั
ชีวิตครอบครัว สภาพแวดล้อม และการบริหารจัดการทีดี ซึงเป็นองค์ประกอบสําคญ ๗ ด้าน ของกรอบ
ี
่
แนวคิดความอยูดีมสุขของทังปัจเจกบุคคลและสังคมไทยโดยถ้วนหน้า
้
ี
่
๖. ปจจุบนมีคณะกรรมการและหน่วยงานทีมหน้าทีเกียวข้องกับการดูแลเด็กหลายคณะ
่
ั
ั
่
่
่
ํ
จึงควรมีการบูรณาการดําเนินงานร่วมกัน ลดความซ้าซ้อน เพือให้เกิดความรวดเร็วมากยิงขึน ตลอดจน
้
ี
การพัฒนาบุคลากรทีมคณภาพและจัดสรรให้เพียงพอกับภาระงานทีเพิมขึน
ุ
่
่
่
้
้
์
๗. คณะกรรมาธิการกจการเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ ผูพิการ กลุมชาติพันธุ และผูม ี
ิ
้
่
้
ความหลากหลายทางเพศ ควรมีการติดตามการทํางานของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
่
แห่งชาติ (กดยช.) ซึงมีนายจุรินทร์ ลักษณวิศษฏ รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ในการประชุมคณะกรรมการฯ
์
ิ
ี
้
่
่
่
ครังที ๑/๒๕๖๓ เมือวันที ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ทีประชุมมมติเห็นชอบในหลักการการให้เงินอุดหนุน ๖๐๐ บาท
่
่
ี
่
้
ต่อเดือน แกเด็กอายุ ๐ – ๖ ป แบบถ้วนหน้า โดยสามารถเริมดําเนินการได้ตังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
้
่
่
้
้
เป็นต้นไป ทังนี ทีประชุมมอบหมายให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ แต่งตัง
้
คณะทํางานเตรียมความพร้อมการจัดสวัสดิการเงินอุดหนุนแบบถ้วนหน้า โดยมีผูแทนจากหน่วยงาน
ทีเกียวข้องเป็นคณะทํางาน เพือศึกษาความเป็นไปได้และจัดทําแผนการดําเนินงาน งบประมาณ กลับมาเสนอ
่
่
่
คณะกรรมการ กดยช. อีกครัง กอนเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพือพิจารณาต่อไป
่
่
้
่
๘. ด้านการพัฒนาการทางสมองของเด็ก ช่วงระยะเวลาทีสําคญทีสุดสําหรับการเรียนรูของมนุษย์
่
้
ั
ี
ื
ุ
คอ ช่วงอาย ๐ – ๖ ป หากส่งเสริมหลังจากวัยนีแล้ว จะส่งผลการพัฒนาสมองของมนุษย์ หากได้รับการดูแล
้
ั
เอาใจใส่ เด็กจึงจะพัฒนาศกยภาพสมองของเขาได้อย่างเต็มความสามารถ เพราะเหตุว่า สมองของเด็ก
่
้
สามารถพัฒนาและเรียนรูมากกว่าสมองของผูใหญ่มากมายหลายเท่า และจะทําหน้าทีนีไปจนถึงอายุ ๑๐ ป ี
้
้
้
่
่
่
จากนันสมองจะเริมขจัดข้อมูลทีไมได้ใช้ในชีวิตประจําวันทิงไปเพือให้ส่วนทีเหลือทํางานได้อย่างมี
่
้
่
ประสิทธิภาพมากทีสุด องค์การยูนิเซฟ (UNICEF) จึงให้ความสนใจต่อพัฒนาการของเด็ก โดยเฉพาะในเด็ก
่
่
ปฐมวัยช่วงอายุระหว่างแรกเกิดถึง ๓ ป เพราะเป็นช่วงวางรากฐานสําคญอย่างยิงต่อการพัฒนาในช่วงต่อ ๆ
ั
ี
มาของวัย เพราะเป็นช่วงเวลาทีสมองเติบโตและพัฒนารวดเร็วทีสุด การเอาใจใส่ในช่วงเวลานี จะมีผลต่อ
่
่
้
ั
คณภาพของมนุษย์ตลอดชีวิต ซึงรัฐภาคีมกจะละเลยไม่ได้ให้ความสนใจในเชิงการกําหนดนโยบาย
ุ
่
ํ
่
่
การวางแผนงาน การกาหนดงบประมาณสนับสนุนทีเพียงพอ ซึงสอดคล้องกับการค้นคว้าวิจัยของ
่
ศาสตราจารย์เจมส์ เจ. เฮคแมน นักเศรษฐศาสตร์ รางวัลโนเบล ๒๕๔๒ สรุปได้ว่า การลงทุนเพือการพัฒนา
ุ
่
เด็กปฐมวัย เป็นการลงทุนทีคมคาให้ผลตอบแทนแก่สังคมทีดีทีสุดในระยะยาว โดยให้ผลตอบแทน
้
่
่
่
กลับคนมาในอนาคต ๗ – ๑๐ เท่า
ื