Page 83 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 83

ส่วนที่ ๓                                                                            หน้า ๗๑



                            พิจารณาแนวทางการคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย

                         ิ
               ทางเพศ พจารณาศึกษาหนังสือข้อเรียกร้องจากมูลนิธิผู้หญิง เรื่อง แนวทางการแก้ไขกฎหมายเพื่อคุ้มครอง
               ผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว โดยเชิญอธิบดีกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว เข้าร่วมประชุม

               กับคณะกรรมาธิการ โดยมอบหมายให้รองอธิบดีกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้น าเสนอข้อมูล
               ต่อที่ประชุม สรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
                                                                           ั
                           เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมพฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว
               พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยให้ยกเลิกพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ นั้น
               เนื่องจากพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ มีการก าหนดฐาน

               ความผิดอาญาฐานกระท าความรุนแรงในครอบครัว ซึ่งเป็นซ้ าซ้อนกับการกระท าความผิดตามประมวล
               กฎหมายอาญา และหน้าที่และอ านาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหาความรุนแรง
               ในครอบครัวในปัจจุบัน ไม่มีบทบัญญัติในการบูรณาการความร่วมมือกันทุกภาคส่วนในการแก้ปัญหา

               และต้องปรับปรุงมาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพในครอบครัวให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้าง
                                                                                     ั
               ความสัมพนธ์ที่ดีแก่บุคคลในครอบครัว และก าหนดมาตรการในการส่งเสริม พฒนาและคุ้มครองสถาบัน
                         ั
               ครอบครัว เพื่อให้การป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
                                                                          ั
                           โดยข้อแตกต่างระหว่างพระราชบัญญัติส่งเสริมพฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว
               พ.ศ. ๒๕๖๒ เปรียบเทียบกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว

               พ.ศ. ๒๕๕๐ ในประการส าคัญ มีดังต่อไปนี้
                                                 ั
                           ๑. มุ่งเน้นการส่งเสริม พฒนา และคุ้มครองสถาบันครอบครัว ซึ่งการส่งเสริมนั้นรวมไปถึง
               การให้ค าปรึกษาปัญหาเกี่ยวปัญหาครอบครัว โดยนายทะเบียน ศูนย์ส่งเสริมและคุ้มครองครอบครัว
               หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตามที่กฎหมายก าหนดไว้
                           ๒. แก้ไขและเพมเติมค านิยามให้มีความชัดเจนและครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เช่น ค าว่า
                                          ิ่
               “ความรุนแรงในครอบครัว” และ “บุคคลในครอบครัว” เป็นต้น
                           ๓. ยกเลิกฐานความผิดฐานกระท าความรุนแรงในครอบครัว โดยให้ถือว่าเป็นความผิด

               ตามประมวลกฎหมายอาญา
                                                                 ื่
                           ๔. ก าหนดมาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ เพอแก้ไขปัญหาการกระท าความรุนแรงในครอบครัว
               หรือเพื่อป้องกันการกระท าความรุนแรงในครอบครัวซ้ า โดยศาลสามารถใช้ดุลพินิจในการรับฟงผลของการปฏิบัติ
                                                                                             ั
               ตามค าสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ แล้วน ามาประกอบการพิจารณาว่าเป็นเหตุอันควรปราณีในการรอการลงโทษ
               รอการก าหนดโทษ หรือเป็นเหตุบรรเทาโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา

                           ๕. ก าหนดให้กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ด าเนินการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและคุ้มครอง
                                                                                               ื่
                                                      ั
               ครอบครัว โดยอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เพอจัดการปัญหา
               ความรุนแรงในครอบครัวในเขตพื้นที่จังหวัด
                           ๖. ก าหนดภารกิจหน้าที่ของศูนย์ส่งเสริมและคุ้มครองครอบครัว โดยให้มีอ านาจและหน้าที่
               ให้ความรู้ความเข้าใจ ค าปรึกษาแนะน า และไกล่เกลี่ยประนีประนอม ในเรื่องของปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว

                                                                   ื่
               รวมถึงด าเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพ ยื่นค าร้องขอต่อศาลเพอด าเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพ และด าเนินการ
               ให้เป็นไปตามค าสั่งศาลในการคุ้มครองสวัสดิภาพ
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88