Page 84 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 84
หน้า ๗๒ ส่วนที่ ๓
๗. การบูรณาการความร่วมมือกันทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหา โดยก าหนดให้รัฐมนตรี
ั
ว่าการกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้รักษาการร่วมกันตามพระราชบัญญัติฉบับนี้
ิ่
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันได้มีการประกาศใช้พระราชก าหนดแก้ไขเพมเติมพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒
ื่
ั
เพอขยายก าหนดเวลาในการมีผลบังคับใช้ของพระราชบัญญัติส่งเสริมการพฒนาและคุ้มครองสถาบัน
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ ออกไป โดยให้น าพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๕๐ มาใช้บังคับเป็นการชั่วคราว ในระหว่างที่มีการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรเพื่อปฏิบัติการ
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒
คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกตและข้อซักถามต่อกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
ในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
๑. อะไรคือปัญหาและอุปสรรคที่ท าให้มีการชะลอการบังคับใช้พระราชบัญญัติส่งเสริม
การพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒
๒. กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้มีการเตรียมความพร้อมในระหว่างที่มีการขยาย
ั
ก าหนดเวลาในการมีผลบังคับใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ.
๒๕๖๒ อย่างไรบ้าง รวมถึงมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท า
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ หรือมีแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมการ
พัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ หรือไม่ อย่างไร
๓. การให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวมีการด าเนินการอย่างไรบ้าง
ั
๔. อาสาสมัครพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประจ าหมู่บ้าน หรือ อพม. มีลักษณะ
การด าเนินงานอย่างไร และมีสวัสดิการอย่างไรบ้าง
๕. เหตุใดข้อมูลสถิติความรุนแรงของแต่ละหน่วยงานจึงมีตัวเลขที่แตกต่างกัน โดยยกตัวอย่าง
ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขที่มีสถิติการได้รับแจ้งเหตุความรุนแรงกว่า ๓ หมื่นครั้ง แต่ข้อมูลสถิติ
ั
ของกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีประมาณ ๖ ร้อยครั้ง นอกจากนี้ มีการจัดเก็บ
ข้อมูลคดีที่มีลักษณะเป็น Battle Women Syndrome หรือไม่ อย่างไร
โดยกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้ชี้แจงและตอบข้อซักถามของที่ประชุม ว่า
๑. ปัญหาและอุปสรรคที่ท าให้ไม่สามารถด าเนินการเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
ั
การพฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับความพร้อมด้านบุคลากร
และงบประมาณสนับสนุน จึงท าให้ต้องขยายก าหนดเวลาการมีผลบังคับใช้ของพระราชบัญญัติฉบับนี้ออกไป
ิ
๒. ขณะนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ยังไม่มีแนวทางที่จะพจารณา
ั
แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมการพฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ แต่ได้
ด าเนินการเพอเตรียมความพร้อมเพอด าเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ในระหว่างที่มีการ
ื่
ื่
ขยายก าหนดเวลาในการมีผลบังคับใช้ ดังนี้
๑) เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรที่ปฏิบัติงานในศูนย์ส่งเสริมและคุ้มครองครอบครัว
และงบประมาณ ให้แล้วเสร็จภายในปี ๒๕๖๔ โดยการเพมอัตราก าลังคนในต าแหน่งนักจิตวิทยา นิติกร
ิ่
และนักสังคมสงเคราะห์ของแต่ละจังหวัด