Page 85 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 85

ส่วนที่ ๓                                                                            หน้า ๗๓



                             ๒) ขออัตราก าลังจากส านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) โดยอยู่ระหว่าง

                                                                ิ่
               การวิเคราะห์อัตราก าลังและความจ าเป็นที่จะต้องเพมบุคคลากรในแต่ละต าแหน่ง รวมถึงการก าหนด
               กรอบภารกิจให้มีความชัดเจน ทั้งนี้ หากการเตรียมการด้านบุคลากรและงบประมาณเป็นไปตามแผน

               การด าเนินงาน ก็จะท าให้กรมสามารถขับเคลื่อนการด าเนินงานให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
               การพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้ภายในระยะเวลา ๒ ปี
                             ๓) การจัดกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงในครอบครัวตามภาคส่วนต่าง ๆ และการ

                                                                          ั
                           ั
               ประชาสัมพนธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการพฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว
               พ.ศ. ๒๕๖๒ ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือ คุ้มครอง การร้องทุกข์ และการป้องกันตัว
               จากเหตุความรุนแรงในครอบครัว ผ่านทางสื่อต่าง ๆ เช่น หน้าเว็บไซต์ของกระทรวง ป้ายประชาสัมพนธ์
                                                                                                          ั
               สายด่วน ๑๓๐๐ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ที่ปิดประกาศทั่วประเทศ เป็นต้น
                             ๔) ประสานการด าเนินงานกับกระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข อัยการ กระทรวงศึกษา

                                                          ์
               ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด เพื่อเชื่อมโยงภารกิจและเตรียมความพร้อมในการ
               ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒

                           ๓. การให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัว ในเบื้องต้นเมื่อได้รับแจ้งเหตุ
               ความรุนแรง ศูนย์ปฏิบัติการจะจัดส่งทีมปฏิบัติการที่ประกอบด้วย นักสังคมสงเคราะห์ และนักจิตวิทยา
               ลงพนที่ โดยประสานการท างานกับพนักงานเจ้าหน้าที่เพอน าทีมสหวิชาชีพเข้าให้ความช่วยเหลือแก่
                   ื้
                                                                    ื่
               ผู้ถูกกระท าความรุนแรง เมื่อผู้เสียหายต้องการร้องทุกข์ด าเนินคดี ก็จะส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ต ารวจด าเนินการ
               เพื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมต่อไป

                             ในกรณีที่ได้รับการแจ้งเหตุความรุนแรงที่เกิดกับเด็ก จะต้องมีการสืบค้นข้อเท็จจริงน าเด็ก
               เข้าสู้กระบวนการให้ความคุ้มครองชั่วคราว ประเมินความต้องการของเด็ก การบ าบัดฟนฟ การคืนเด็กสู่สังคม
                                                                                            ู
                                                                                         ื้
               และการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุซ้ า
                                         ั
                           ๔. อาสาสมัครพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประจ าหมู่บ้าน หรือ อพม. เกิดจากการ
               ฝึกอบรมให้ความรู้ของส านักงานพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด โดยกระทรวงการพฒนาสังคม
                                                                                                   ั
                                             ั
               และความมั่นคงของมนุษย์ ตั้งเป้าหมายให้มีการเพิ่มอัตราก าลัง อพม. ในปี ๒๕๖๔ เป็น ๕ แสนคนทั่วประเทศ
                             ซึ่งการลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ถูกกระท าความรุนแรง จะเป็นรูปแบบ One Home

               กล่าวคือ มีลักษณะบูรการการท างานร่วมกัน และเน้นกลไกลความเข้มแข็งของชุมชน ซึ่งในแต่ละพื้นที่จะมี
               หน่วยที่คอยให้ความช่วยเหลือ เช่น ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันความรุนแรง
               ระดับต าบล และอาสาสมัครพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประจ าหมู่บ้าน ที่ท าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง
                                         ั
               ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความรุนแรง โดยเจ้าหน้าที่เหล่านี้จะได้รับการอบรมความรู้และเสริมทักษะด้านต่าง ๆ
               ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกฎหมาย การท างานในพื้นที่ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ การไกล่เกลี่ยประนีประนอม และการส่งต่อ

               การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ถูกกระท าความรุนแรง
                             อย่างไรก็ตาม เมื่อยังไม่มีกฎหมายให้ความคุ้มครองสวัสดิภาพแก่อาสาสมัครเป็นการเฉพาะ
               ซึ่งหากเกิดกรณีที่อาสาสมัครได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บจากการปฏิบัติหน้าที่ ก็จะได้รับความคุ้มครองตาม

               พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ และ
               พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90