Page 87 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 87
ส่วนที่ ๓ หน้า ๗๕
พิจารณาปัญหาการบังคับใช้
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.๒๕๓๙
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มีความ
ิ
ั
หลากหลายทางเพศ ได้พจารณาเรื่องร้องเรียนจากเครือข่ายพนักงานบริการประเทศไทย มูลนิธิเอ็มพาว
ิ
เวอร์ โดยมีสาระส าคัญ เป็นการให้ยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.
๒๕๓๙ ให้หยุดการจับกุมล่อซื้อกับพนักงานบริการในความผิดจากการค้าประเวณี ให้จัดตั้งคณะท างาน
ื่
เพอศึกษาทบทวนยกเลิกการเอาผิดกับคนท างานบริการทางเพศ และสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนให้
พนักงานบริการสามารถเข้าถึงการศึกษาและพฒนาอาชีพที่ทันสมัย ทั้งนี้ เป็นผลมาจากพระราชบัญญัติ
ั
ื่
ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งสมควรพิจารณาทบทวนเพอแก้ไขเพมเติม ซึ่งกรม
ิ่
ั
กิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นผู้รับผิดชอบ
ิ
คณะกรรมาธิการพจารณาแล้วเห็นว่าเรื่องดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องกับคณะกรรมาธิการ
และหน่วยงานต่าง ๆ หลายหน่วยงาน จึงควรพิจารณาอย่างรอบคอบ แต่ในเบื้องต้นได้มีการพิจารณาศึกษา
ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยมีประเด็นใน
การพิจารณา ดังนี้
๑. ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙
ซึ่งมีประเด็นปัญหาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการก าหนดลักษณะความผิดและโทษการค้าประเวณี และการใช้
อ านาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ดังนี้
๑.๑ การก าหนดความรับผิดเฉพาะผู้ค้าประเวณี ที่ก าหนดไว้อย่างกว้างขวาง ก่อให้เกิด
ปัญหาด้านการตีความและทัศนคติที่ไม่ดีของสังคมที่มีต่อผู้ค้าประเวณี
๑.๒ ศาลได้มีการวางหลักเกณฑ์ใหม่ในการพิจารณาความผิดส าเร็จตามมาตรา ๕ จากเดิม
ที่ก าหนดให้เป็นความผิดส าเร็จเมื่อมีการติดต่อเพอการค้าประเวณีที่มีลักษณะเปิดเผยและน่าอับอาย
ื่
ไม่ว่ากระท าลงในที่ใด ซึ่งศาลได้วางหลักเกณฑใหม่ โดยก าหนดให้เพียงแค่มีการตกลงย่อมถือเป็นความผิด
์
ส าเร็จแล้ว ท าให้น าไปสู่ปัญหาการล่อซื้อ อีกทั้งยังเป็นการก าหนดความผิดเอาไว้อย่างกว้างไม่มีการก าหนด
ขอบเขตที่แน่นอน
๑.๓ การก าหนดนิยามของค าว่า “สถานการค้าประเวณี” ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ท า
ี
ให้สามารถตีความอย่างกว้างได้ว่า สถานที่ใดก็ตามแม้จะมีการค้าประเวณีเพยงหนึ่งครั้งก็เป็นสถาน
ค้าประเวณีได้
๑.๔ การก าหนดความผิดในฐานการโฆษณาค้าประเวณี ที่กฎหมายมุ่งใช้ในการปราบปราม
ธุรกิจการค้าประเวณี แต่ในข้อเท็จจริงน ามาใช้บังคับต่อบุคคลที่เป็นผู้ค้าประเวณีรายย่อย
๑.๕ การใช้บริการค้าประเวณีเด็กซึ่งได้กระท าลงในสถานการค้าประเวณี เป็นการก าหนด
ความรับผิดที่ได้กระท าในสถานการค้าประเวณีเท่านั้น ซึ่งไม่อาจให้ความคุ้มครองเด็กได้อย่างทั่วถึง
๑.๖ การก าหนดให้ผู้กระท าความผิดเข้ารับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพในสถานคุ้มครอง
และพัฒนาอาชีพ โดยค าสั่งศาลหรือพนักงานสอบสวน ก่อให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดีของสังคมต่อผู้ค้าประเวณี
๑.๗ การก าหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจเข้าตรวจค้นสถานบริการในเวลาใดก็ได้
ก่อให้เกิดปัญหาการล่อซื้อเพื่อจับกุม