Page 91 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 91
ส่วนที่ ๓ หน้า ๗๙
กรมการปกครอง
ผู้แทนจากกรมการปกครอง ได้ให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการ สรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
๑. การยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ อาจไม่สามารถ
แก้ปัญหาที่เป็นอยู่ในขณะนี้ได้ โดยเห็นว่าหลักการของกฎหมายนั้นถูกต้องแล้ว แต่แนวทางในการแก้ปัญหานั้น
ควรจะแก้ให้ถูกจุด เนื่องจากปัญหาการค้าประเวณีที่เกิดขึ้นมาจากอุปสงค์และอุปทานที่ตรงกัน เมื่อมีผู้ซื้อ
จึงมีผู้ขาย ดังนั้น กฎหมายควรมุ่งเน้นไปเอาผิดกับผู้ซื้อ โดยเฉพาะการซื้อบริการที่เป็นเด็กและเยาวชน
๒. การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการค้าประเวณีที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติ
์
ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑ คือ การค้าประเวณีเด็กอายุต่ ากว่า ๑๘ ปี ไม่ว่ายินยอม
หรือไม่ และ การค้าประเวณีบุคคลอายุเกิน ๑๘ ปี โดยการข่มขู่ หลอกลวง ใช้ก าลังบังคับ หรือใช้อ านาจ
โดยมิชอบ ซึ่งการค้าประเวณีเป็นต้นทางที่น าไปสู่ปลายทาง คือ การค้ามนุษย์ หากจะท าให้การค้าประเวณี
เป็นสิ่งถูกกฎหมาย ในขณะที่การค้ามนุษย์ยังคงเป็นสิ่งผิดกฎหมาย จึงอาจดูเป็นการย้อนแย้งกันหรือไม่
ิ
ดังนั้น การด าเนินการใด ๆ จ าเป็นต้องพจารณาภาพรวมของประเทศ และคนส่วนใหญ่ในสังคมว่าให้การ
ยอมรับหรือไม่ รวมถึงในสายตาของต่างประเทศที่มองว่าเป็นอย่างไร
๓. การด าเนินการจับกุม เริ่มจากที่มีการร้องเรียน หรือแจ้งเบาะแสผ่านศูนย์ด ารงธรรมโดย
ื้
ื่
NGO ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ จากนั้นจะส่งพนักงานปกครองเข้าไปในพนที่เพอสอบสวน
หาข้อมูล น าไปสู่การประสานการจับกุม
๔. การล่อซื้อเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการแสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐานของเจ้าหน้าที่
ต ารวจ ซึ่งมีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งส าหรับกระบวนการยุติธรรมของไทย เพราะการกล่าวหาโดย
ไม่มีพยานหลักฐานที่รัดกุม ย่อมไม่สามารถเอาผิดกับผู้กระท าผิดได้
๕. แม้ว่าพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ จะมีหลักการ
ของกฎหมายที่ถูกต้อง แต่ยังมีบทบัญญัติในบางมาตราที่อาจไม่ยุติธรรมและยิ่งเพมความทุกข์ให้แก่
ิ่
ผู้เสียหายที่กระท าด้วยความจ าเป็น เช่น ข้อหามั่วสุม เป็นต้น ซึ่งหากยังไม่ได้มีการปรับปรุงแก้ไขหรือยกเลิก
กฎหมาย การด าเนินคดีในข้อหาดังกล่าวจึงไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่ถึงอย่างไร ฝ่ายปกครองได้พยายามใช้
ื่
กลไกในทางบริหาร โดยมีทีมสหวิชาชีพเข้าร่วมในกระบวนการท างาน เพอให้เกิดความเป็นธรรมแก่
ผู้เสียหายมากที่สุด
๖. พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ เป็นพระราชบัญญัติที่มีการก าหนดควบคุม
คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตประกอบการ และก าหนดควบคุมเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง รวมถึงการห้ามเด็ก
เกี่ยวข้อง ซึ่งตามหลักการของกฎหมายมีความชัดเจนอยู่แล้วจึงไม่ได้มีปัญหาแต่อย่างใด อยู่ที่การบังคับใช้
กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งการน าแนวทางสายกลางเข้ามาใช้ในการแก้ปัญหา น่าจะเกิดผลดีกับทุกฝ่าย
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
ผู้แทนกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการ ว่า พระราชบัญญัติ
ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่ใช้ในการป้องกันและปราบปราม
การค้าประเวณี โดยมีการก าหนดรูปแบบ ลักษณะความผิดและบทลงโทษที่เกี่ยวกับการค้าประเวณีไว้
แต่เนื่องจากพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้มีการใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ท าให้มีหลายมาตราไม่สอดคล้องกับ
สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน รวมถึงโครงสร้าง หน่วยงานที่มีอ านาจหน้าที่รับผิดชอบตามที่ก าหนดไว้
ได้มีการเปลี่ยนแปลงหรือบางหน่วยงานไม่มีอยู่แล้ว โดยภายหลังการโอนย้ายภารกิจจากกระทรวงแรงงาน
ั
มายังกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว จึงได้เข้ามา