Page 96 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 96

หน้า ๘๔                                                                              ส่วนที่ ๓



                    พิจารณาข้อเรียกร้องเครอข่ายผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
                                            ื

                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย

               ทางเพศ ได้รับหนังสือร้องเรียนจากเครือข่ายผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนเพื่อเสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติม
               เพอให้การพจารณาของคณะกรรมาธิการเป็นไปด้วยความรอบคอบ ได้เชิญผู้แทนเครือข่ายผู้หญิงนัก
                  ื่
                           ิ
               ปกป้องสิทธิมนุษยชน เข้าให้ข้อมูลสรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
                           ผู้แทนเครือข่ายผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ได้น าเสนอข้อเรียกร้องต่อคณะกรรมาธิการว่า
               เครือข่ายผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชน เป็นการรวมตัวกันของผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่มาจาก

               เครือข่ายชุมชนและผู้หญิงที่ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิ ๑๙ กลุ่ม โดยมีเจตนารมณ์ในการ
                                                         ื้
               รวมกลุ่มผู้หญิงที่มีพลังในการต่อสู้ เพอสร้างพนที่ทางการเมืองที่ปลอดภัยส าหรับผู้หญิงในประเทศไทย
                                                 ื่
               ซึ่งจากการรวบรวมข้อมูลของเครือข่ายพบว่า ผู้หญิงที่เป็นนักปกป้องสิทธิมนุษยชนถูกด าเนินคดี เนื่องจาก
                                                ิ่
               การแสดงความคิดเห็นต่อการแก้ไขเพมเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทธศักราช ๒๕๖๐ เครือข่าย
                                                                                    ุ
               มีข้อเสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จ านวน ๖ ข้อ ดังนี้
                                                              ื้
                           ๑. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องตั้งอยู่บนพนฐานของการเคารพ ปกป้อง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
               ของผู้หญิงทุกกลุ่มอย่างแท้จริง

                           ๒. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องตระหนักว่างานในบ้านเป็นงานที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ โดยงาน
               ที่กระท าโดยผู้ที่เป็นมารดาหรือผู้ดูแลคนอื่นในครอบครัวต้องได้รับค่าตอบแทน ซึ่งรัฐต้องจัดหาสวัสดิการ
               และประกันค่าตอบแทนให้ผู้เป็นมารดาและผู้ท างานในบ้านทุกคน

                           ๓. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องลดการรวมอ านาจไว้ที่ส่วนกลางและให้มีการกระจายอ านาจไปสู่
               ท้องถิ่น โดยให้ผู้หญิงทุกระดับมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

                           ๔. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องสนับสนุนการจัดสวัสดิการถ้วนหน้าของผู้หญิงทุกกลุ่ม
               ทุกความต้องการพเศษ และสนับสนุนการศึกษาทางเลือกที่สามารถก าหนดความมุ่งหมาย และแนวทาง
                                ิ
               ของชีวิตได้อย่างอิสระ

                           ๕. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องลดอ านาจและงบประมาณของทหาร เพื่อน ามาจัดสรรสวัสดิการ
               ให้กับผู้หญิงและประชาชนทุกคน

                           ๖. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องก าหนดสวัสดิการถ้วนหน้าที่มีคุณภาพที่ผู้หญิงทุกกลุ่ม
               สามารถเข้าถึงได้ เช่น
                             - การจัดสรรที่อยู่อาศัยในสัดส่วนที่ผู้หญิงเข้าถึงการถือครองไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๕๐

                             - ต้องจัดสรรให้ผู้หญิงเป็นตัวแทนอยู่ในคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับรัฐสวัสดิการ
               ในทุกระดับอย่างน้อยร้อยละ ๕๐

                             - ผู้หญิงทุกคนต้องเข้าถึงการให้บริการเกี่ยวกับสุขภาพผู้หญิงอย่างรอบด้าน โดยไม่มี
               การเลือกปฏิบัติ และมีบ้านฉุกเฉินที่ผู้หญิงทุกคนใช้งานได้
                             - แรงงานหญิงทั้งในระบบและนอกระบบต้องได้รับค่าจ้างที่ยุติธรรมและเท่าเทียม

                           ทั้งนี้ การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของบุคคลตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                 ุ
               พทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นการบัญญัติในภาพรวมเท่านั้นไม่ได้บัญญัติในรายละเอียดเป็นการเฉพาะเรื่อง อีกทั้ง
               กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันไม่ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการร่างเท่าที่ควร
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101