Page 98 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 98
หน้า ๘๖ ส่วนที่ ๓
พิจารณามาตรการในการเข้าถึงผ้าอนามัยเพื่อสุขภาวะของสตรี
ศึกษากรณีการจัดสวัสดิการผ้าอนามัยส าหรับนักเรียนวัยเจริญพันธุ์
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
ทางเพศ ได้รับข้อเสนอจากภาคประชาสังคมผู้ยื่นเรื่องร้องเรียน ประกอบด้วย (๑) นางสาวเกศปรียา
ิ
แก้วแสนเมือง (๒) นายปภาษิณ ปิ่นแก้ว (๓) นางสาวพมดารา ศิริสลุง (๔) นางสาวณฤดี จินตวิโรจน์
ให้ด าเนินการศึกษาพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการแสวงหามาตรการในการเข้าถึงผ้าอนามัยเพื่อสุขภาวะ
ของสตรีศึกษากรณีการจัดสวัสดิการผ้าอนามัยส าหรับนักเรียนวัยเจริญพันธุ์ โดยให้ถือเป็นการจัดสวัสดิการ
ขั้นพื้นฐานของรัฐในการดูแลด้านสุขภาวะของประชาชน
ในการด าเนินงานของคณะกรรมาธิการ ได้วิเคราะห์เอกสารร้องเรียนจากภาคประชาชน ข้อมูล
สถิติ เอกสารงานวิจัย การด าเนินเรื่องดังกล่าวนี้ของต่างประเทศ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการ
ื่
ในการเข้าถึงผ้าอนามัยเพอสุขภาวะของสตรี รวมถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการการแก้ไขการเก็บ
ภาษีมูลค่าเพิ่มจ าพวกผ้าอนามัยให้มีความเป็นธรรมต่อเพศหญิงมากขึ้น อีกทั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลและแนวทาง
ที่เป็นไปได้ จึงได้เชิญนักวิชาการ ซึ่งท าการวิจัยศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมาตรการจัดสรรสวัสดิการ
ื่
ผ้าอนามัยเพอสตรี ผู้แทนกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ผู้แทนกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ผู้แทนกรมพฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทน
ั
ั
กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง และผู้แทนส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ิ
ั
ในการศึกษาและพจารณาคณะกรรมาธิการมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายไปยังกลุ่มนักเรียนหญิงวัยเจริญพนธุ์
ื่
ื่
ที่ยังไม่สามารถหาเลี้ยงชีพของตนเองได้ แต่ต้องมีภาระค่าใช้จ่ายเพอสุขภาวะอนามัย เพอลดความเหลื่อมล้ า
ที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการบริการสังคม
มาให้ข้อมูล และข้อเสนอแนะแก่คณะกรรมาธิการ
ิ
ื่
จากการพจารณาศึกษา เรื่อง “มาตรการในการเข้าถึงผ้าอนามัยเพอสุขภาวะของสตรี
ศึกษากรณีการจัดสวัสดิการผ้าอนามัยส าหรับนักเรียนวัยเจริญพันธุ์” คณะกรรมาธิการได้มีข้อสังเกต ดังนี้
๑. ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงการพฒนาสังคม
ั
และความมั่นคงของมนุษย์ ควรมีการจัดท านโยบายที่เกี่ยวข้องกับการลดความเหลื่อมล้ าทางเพศประเด็น
การจัดสวัสดิการผ้าอนามัยเพอสุขภาวะของสตรี และศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องตามหน้าที่และอ านาจ
ื่
ื่
แก้ไขปรับปรุงรวมถึงการยกเลิกหรือออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพอด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้
โดยสามารถน ารูปแบบการจัดสวัสดิการแบบเฉพาะกลุ่มกรณีของประเทศสกอตแลนด์มาปรับใช้กับประเทศไทย
ั
๒. ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงการพฒนาสังคม
์
และความมั่นคงของมนุษย ควรมีการทดลองจัดสวัสดิการผ้าอนามัยส าหรับนักเรียนวัยเจริญพันธุ์ โดยเป็น
ั
ื่
การจัดสวัสดิการสังคมแบบเจาะจงเฉพาะกลุ่มนักเรียนวัยเจริญพนธุ์ เพอเป็นจุดเริ่มต้นการแก้ไขปัญหา
ในกลุ่มที่ส่งผลต่อการด ารงชีวิตของสตรีโดยตรงที่จะสามารถขยายการจัดสวัสดิการให้ทั่วถึงและครอบคลุม
ทุกกลุ่มเป้าหมายต่อไป
ิ
๓. คณะรัฐมนตรีควรมีการพจารณาจัดสวัสดิการสังคม เรื่อง “การจัดสวัสดิการผ้าอนามัย
ื่
ส าหรับสตรี” เพอสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ าทางเพศ โดยเฉพาะในสถานที่เหล่านี้ คือ
โรงพยาบาล สถานศึกษา ผู้ต้องหาและนักโทษ ศูนย์อพยพ ศูนย์พึ่งพิงคนไร้บ้าน และในสถานที่ท างาน