Page 102 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 102
หน้า ๙๐ ส่วนที่ ๓
(๒) มลรัฐโอไฮโอ (๓) มลรัฐแคลิฟอร์เนีย (๔) มลรัฐคอนเน็คติคัต (๕) มลรัฐฟอร็ลิดา (๖) มลรัฐอิลลินอยส์
(๗) มลรัฐแมรี่แลนด์ (๘) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ (๙) มลรัฐมินนิโซตา (๑๐) มลรัฐนิวเจอร์ซี่ (๑๑) มลรัฐนิวยอร์ค
(๑๒) มลรัฐเนวาดา (๑๓) เมลรัฐพนซิลวาเนีย และ (๑๔) มลรัฐโรดไอแลนด์
ิ
การพจารณาข้อมูลด้านความส าคัญและความจ าเป็นในด้านสุขภาวะ จากผู้แทนกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข
คณะกรรมาธิการได้มีประเด็นสอบถามต่อผู้แทนจากกรมอนามัยเกี่ยวกับมุมมองของกรมอนามัย
ั
ต่อสุขภาวะทางเพศ อนามัยการเจริญพนธุ์ และการดูแลสุขภาวะทางเพศของผู้หญิงไม่ว่าจะเป็นการใช้
์
หรือไม่ใช้ผ้าอนามัยประเภทต่าง ๆ ในเวลาที่มีประจ าเดือน การใช้ยาหรือเวชภัณฑดูแลผู้ที่มีประจ าเดือน
รวมถึงความคิดเห็นต่อกรณีความยากล าบากของผู้หญิงในการจัดหาผ้าอนามัย หรือกรณีการเตรียมความพร้อม
ให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลมีส่วนในการสนับสนุนผ้าอนามัยในลักษณะเดียวกันกับการสนับสนุน
ถุงยางอนามัย
ในการนี้ ผู้แทนจากกรมอนามัยชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการว่า โดยเฉลี่ยแล้วผู้หญิงจะเริ่มมี
ประจ าเดือนเมื่ออายุ ๘ - ๑๒ ปี และหมดประจ าเดือนเมื่อมีอายุเฉลี่ยที่ ๔๙ ปี ซึ่งในแต่ละเดือนจะมีประจ าเดือน
โดยเฉลี่ย ๓ - ๗ วัน และใช้ผ้าอนามัยโดยเฉลี่ยวันละ ๓ - ๕ แผ่น แต่ในรายที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับมดลูก
อาจมีความจ าเป็นต้องใช้ผ้าอนามัยทุกวันตลอดทั้งเดือนจึงส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น ดังนั้น การจะให้รัฐ
เป็นผู้สนับสนุนผ้าอนามัยให้แก่ผู้มีประจ าเดือนทุกคน จ าเป็นต้องใช้งบประมาณอย่างมหาศาลเพอด าเนินการ
ื่
เพราะฉะนั้น โดยส่วนตัว ผู้แทนกรมอนามัยจึงเห็นว่าควรจ ากัดการช่วยเหลือเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย หรือใช้
มาตรการปรับลดภาษีจะเหมาะสมกว่า
ั
อย่างไรก็ตาม กรมอนามัยมีนโยบายส่งเสริมวัยเจริญพนธุ์ให้มีการเกิดและเจริญเติบโตอย่างมี
คุณภาพ ที่ผ่านมาได้ให้การสนับสนุนเกี่ยวกับยาเสริมธาตุเหล็กให้กับเด็กวัยเจริญพนธุ์ รวมถึงการดูแลปัญหา
ั
เกี่ยวกับการท้องไม่พร้อม แต่ยังไม่เคยมีนโยบายเกี่ยวกับการสนับสนุนผ้าอนามัย โดยทั่วไปแล้วผู้หญิงวัย
เจริญพันธุ์จะใช้ผ้าอนามัยเฉลี่ยที่ ๓ - ๗ วัน แต่ในรายที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับมดลูก ก็อาจมีความจ าเป็น
ต้องใช้ผ้าอนามัยทุกวันตลอดทั้งเดือนจึงท าให้มีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น ดังนั้น โดยส่วนตัวแล้วจึงเห็นด้วยกับแนวทาง
การทดลองการจัดสวัสดิการดังกล่าวให้แก่กลุ่มนักเรียน และกลุ่มเปราะบางในระยะเริ่มแรกก่อน
การพิจารณาข้อมูลด้านสังคมและการด าเนินการเกี่ยวกับสวัสดิการของรัฐ เพื่อรับทราบข้อมูล
สถานการณ์และแนวทางการจัดการ จากผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑. กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ั
กรมพฒนาสังคมและสวัสดิการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเปราะบาง โดยเฉพาะคนไร้ที่พง
ึ่
ื้
คนเร่ร่อน และคนขอทาน ซึ่งจากการสอบถามผู้ปฏิบัติงานในพนที่พบปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงผ้าอนามัย
ั
ของกลุ่มเปราะบางในลักษณะที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ภารกิจเชิงรับของกรมพฒนาสังคมและสวัสดิการ
ที่เป็นการดูแลกลุ่มเป้าหมายภายในสถานสงเคราะห์ หรือสถานคุ้มครอง จะมีการให้บริการผ้าอนามัย
ได้ค่อนข้างทั่วถึง เนื่องจากสามารถติดต่อขอรับบริจาคจากหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกได้ในยามที่ขาดแคลน
ปัญหาที่พบมักอยู่ในกลุ่มคนเร่ร่อนที่มีปัญหาด้านจิตเวช ท าให้ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ต้องมีเจ้าหน้าที่
คอยดูแล และมีข้อก าจัดเกี่ยวกับรูปแบบหรือขนาดของผ้าอนามัยที่ได้รับบริจาคมา ที่ไม่สามารถเลือกได้
เพราะขึ้นอยู่ว่าผู้บริจาคจะจัดหาแบบใดมาให้ ซึ่งการดูแลเกี่ยวกับสุขอนามัยไม่ได้มีแค่เรื่องของผ้าอนามัย