Page 107 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 107

ส่วนที่ ๓                                                                            หน้า ๙๕



                            พิจารณาการแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญาความผิดฐานท าแท้ง

                                               มาตรา ๓๐๑ และมาตรา ๓๐๕


                           สืบเนื่องจากผู้แทนเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม และภาคีเครือข่าย
               ภาคประชาสังคม ได้ยื่นจดหมายเปิดผนึกต่อประธานคณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ

                                ั
               ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ จ านวน ๒ เรื่อง ได้แก่ ๑) มาตรการแก้ไขปัญหา
                  ิ
               การเข้าไม่ถึงบริการท าแท้งที่ปลอดภัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด – ๑๙ และ
               ๒) เครือข่ายภาคประชาสังคม ๔๐ องค์กร และประชาชนจ านวน ๑,๓๒๔ คน เข้าชื่อยื่นข้อเสนอการ

               ปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญาความผิดฐานท าแท้ง (เพื่อยกเลิกมาตรา ๓๐๑ และปรับปรุงมาตรา ๓๐๕)
                                             ิ
                           คณะกรรมาธิการพจารณาการแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญาความผิดฐานท าแท้ง
               มาตรา ๓๐๑ และมาตรา ๓๐๕ โดยเชิญผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าให้ข้อมูลประกอบด้วย
               ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
                                                     ั
               เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา และผู้แทนเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม

               ซึ่งสรุปสาระส าคัญได้ ดังนี้
                           ปัจจุบันประเทศไทยได้ก าหนดความผิดที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่ยุติการตั้งครรภ์หรือการท าแท้ง

               ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๑ ถึง มาตรา ๓๐๕ ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทลงโทษถึงการกระท า
               ความผิดของผู้หญิงที่ยุติการตั้งครรภ์และผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติการตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นส่วนของแพทย์
               บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่มีวิชาชีพที่เกี่ยวข้องโดยตรง ซึ่งในประมวลกฎหมายอาญาดังกล่าวไม่ได้ระบุ

                                                                      ี
               ถึงการยุติการตั้งครรภ์โดยแพทย์ด้วยเงื่อนไขใด โดยระบุแต่เพยงกรณีที่แพทย์ผู้กระท าไม่มีความผิดในการ
               ยุติการตั้งครรภ์ใน ๒ กรณี คือ (๑) จ าเป็นต้องกระท าเนื่องจากสุขภาพของหญิงนั้น หรือ (๒) หญิงมีครรภ์

               เนื่องจากการกระท าความผิดอาญาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๗๖ มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๘๒ มาตรา ๒๘๓
               หรือมาตรา ๒๘๔ ซึ่งในกรณีการยุติการตั้งครรภ์ เนื่องจากการกระท าความผิดอาญาในแต่ละโรงพยาบาล
                             ื้
               และในแต่ละพนที่มีการปฏิบัติที่ไม่เหมือนกัน โดยในบางพนที่มีเพยงหนังสือรับรองของสถานีต ารวจ
                                                                             ี
                                                                      ื้
                   ี
               ก็เพยงพอแล้ว แต่ในบางพนที่ต้องมีการประชุมและก าหนดให้ด าเนินการได้ในกรณีที่คดีอาญานั้นถึงที่สุด
                                       ื้
               ส่วนในประเด็นกรณีจ าเป็นต้องกระท าเนื่องจากสุขภาพของหญิงนั้น ซึ่งก่อนหน้านี้ค าว่า “สุขภาพ” ได้ถูก
               ตีความถึงสุขภาพกายเท่านั้น และต่อมาแพทยสภาได้มีการขยายความให้เห็นภาพในทางปฏิบัติได้ชัดเจนขึ้น
               เช่น กรณีของหญิงที่มีหลักฐานควรเชื่อได้ว่าถูกกระท าความผิดเกี่ยวกับเพศสามารถยุติการตั้งครรภ์ได้ กรณี
               การตีความสุขภาพให้หมายรวมถึงสุขภาพจิตของผู้หญิงที่จ าเป็นต้องกระท าการยุติการตั้งครรภ์ กรณีของ

               อายุครรภ์หากมีอายุครรภ์ไม่เกิน ๑๒ สัปดาห์ แพทย์เพยงคนเดียวสามารถกระท าการยุติการตั้งครรภ์ได้
                                                                 ี
                                                                                               ิ
                                                                                            ื่
               ซึ่งโรงพยาบาลในหลายพื้นที่ได้มีการตั้งคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องการยุติการตั้งครรภ์ เพอพจารณาถึงกรณี
               ที่อายุครรภ์เกิน ๑๒ สัปดาห์ หรือมีเหตุจ าเป็นอื่น ควรมีการกระท าการยุติการตั้งครรภ์ด้วยเหตุใด
                           อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังมีผู้หญิงและผู้ที่มีวิชาชีพแพทย์ถูกด าเนินคดีจากการยุติการตั้งครรภ์
               ด้วยเหตุอันควร ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้น รวมถึงกรณีของผู้ที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการการยุติการตั้งครรภ์

               ที่ถูกต้องไปสู่ประเด็นการยุติการตั้งครรภ์แบบไม่ถูกต้องหรือการท าแท้งเถื่อน อีกทั้งในปัจจุบันไม่มีประเทศ
               ใดที่มีกฎหมายเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์แบบเสรี ดังนั้นในการพิจารณาของคณะกรรมาธิการจะไม่มีการ

               กล่าวถึงการยุติการตั้งครรภ์แบบเสรี
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112