Page 111 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 111

ส่วนที่ ๓                                                                            หน้า ๙๙



                           จากนั้น ที่ประชุมได้แสดงความคิดเห็นและมีข้อสังเกตจากหน่วยงานที่ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุม

               สามารถสรุปได้ว่า ระยะเวลาของอายุครรภ์ยี่สิบสี่สัปดาห์ ยังเป็นระยะเวลาที่ปลอดภัยในยุติการตั้งครรภ์ได้
                                                                                              ิ่
                                          ิ่
               ซึ่งร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่..) พ.ศ. ... (แก้ไขเพมเติมบทบัญญัติ
               ความผิดฐานท าแท้ง) ของส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ได้มีการยกร่าง ได้ก าหนดให้หญิงซึ่งมีอายุครรภ์
               ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ ผู้กระท าไม่มีความผิด จึงมีประเด็นค าถามว่า เพราะเหตุใด
               จึงก าหนดให้หญิงซึ่งมีอายุครรภ์เพียงสิบสองสัปดาห์ที่จะยุติการตั้งครรภ์ได้เท่านั้น ที่จะไม่มีความผิดเป็นหลัก

                           ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ชี้แจงกรณีการก าหนดอายุครรภ์ที่จะยุติการตั้งครรภ์
                                                                         ิ
               ในการพจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยคณะกรรมการพจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญา
                       ิ
                                                                               ู
               ได้รับฟังความคิดเห็นจากผู้แทนจากแพทยสภา ผู้แทนจากราชวิทยาลัยสตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยมี
               ความคิดเห็นว่า อายุครรภ์ที่ผู้หญิงจะปลอดภัยที่สุดในการยุติการตั้งครรภ์ คือ อายุครรภ์สิบสองสัปดาห์
               ซึ่งจะไม่มีผลท าให้ทารกรอดออกมาเป็นทารกได้และหากเมื่ออายุครรภ์เพมขึ้นจะมีความเสี่ยงและมีโอกาส
                                                                                ิ่
                                                                          ิ
               ที่ตัวอ่อนเจริญเติบโตและรอดเป็นทารกได้ เพราะฉะนั้นจึงต้องมีการพจารณาถึงสิทธิของทารกในครรภ์และสิทธิ
               ของหญิงที่ตั้งครรภ์เพื่อให้เกิดความสมดุลกัน

                           นอกจากนี้ ยังได้พจารณาศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวจากประเทศเยอรมนี
                                            ิ
               ซึ่งได้ก าหนดแนวทางการยุติการตั้งครรภ์ในระยะครรภ์สิบสองสัปดาห์ มาประกอบการพิจารณา ในขณะเดียวกัน
               การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ก าหนดให้รัฐมีหน้าที่ที่จะต้องก าหนดมาตรการส่งเสริมให้บุคคลใช้สิทธิ

               เสรีภาพและก าหนดมาตรการในการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยไม่กระทบต่อสุขภาพของผู้หญิงที่ตั้งครรภ์
               รวมถึงการเข้าไปดูแลคุ้มครองสิทธิของทารกในครรภ์ไม่ให้ถูกกระทบสิทธิในการมีชีวิต ซึ่งจากเหตุผลดังกล่าว

                                                                 ์
               ดังนั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงได้พิจารณาถึงหลักเกณฑของรัฐ หลักเกณฑของแพทยสภา และน ามาก าหนด
                                                                                ์
               หลักเกณฑ์และแนวทางเพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมสามารถท าการยุติการตั้งครรภ์ได้ และในการร่าง
               กฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มีแนวทางการปฏิบัติในการยุติการตั้งครรภ์ โดยการแก้ไข มาตรา ๓๐๕
               แห่งประมวลกฎหมายอาญา ที่เป็นการก าหนดเหตุในการยุติการตั้งครรภ์ที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
                                                                                ์
               สามารถยุติการตั้งครรภ์ได้โดยไม่มีความผิด ซึ่งจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑของแพทยสภาและภายใต้เงื่อนไข
               ตามที่กฎหมายก าหนด และประเด็นกรณียุติการตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ยี่สิบแปดสัปดาห์ เรียกว่า การคลอด
               ก่อนก าหนด ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้ให้ข้อมูลนั้น ซึ่งเรื่องความปลอดภัยในการคลอดและมีชีวิตรอด

               เป็นทารกเป็นเรื่องทางการแพทย์ แต่ในส่วนสิทธิของเด็กเป็นเรื่องในทางข้อกฎหมาย ซึ่งในทางวิทยาศาสตร์
               ได้ก าหนดว่า อายุครรภ์หลังจากสิบสองสัปดาห์ จะพัฒนาจากตัวอ่อนเป็นมนุษย์ ดังนั้น จึงต้องเคารพสิทธิ
               ของเด็กในโอกาสที่จะมีชีวิตรอดเป็นทารก

                           จากนั้น ที่ประชุมได้มีข้อสังเกตและประเด็นซักถาม ดังนี้
                           ๑. กรณีการก าหนดอายุครรภ์ หากมีการก าหนดเวลาอายุครรภ์ในการยุติการตั้งครรภ์ จะท าให้

               มีผู้หญิงบางกลุ่มต้องเข้าสู่กระบวนการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยหรือการท าแท้งเถื่อน และท าให้กฎหมาย
                                                                                    ิ
               ที่แก้ไขปรับปรุงก็จะไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ซึ่งสามารถมีการปรึกษาหารือหรือพจารณาในการยืดหยุ่นในเรื่อง
               ของระยะเวลาในการยุติการตั้งครรภ์ที่เหมาะสมได้หรือไม่

                                                                                          ิ่
                           ๒. ประเด็น มาตรา ๓๐๕ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ควรจะต้องเพมเงื่อนไขในเรื่องของ
               ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจนไม่สามารถเลี้ยงดูทารกที่ก าลังจะเกิดมาได้ ซึ่งเป็นเหตุให้มีการยุติการตั้งครรภ์
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116