Page 114 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 114

หน้า ๑๐๒                                                                             ส่วนที่ ๓



               ทางกระทรวงสาธารณสุขมีกระบวนการในการยุติการตั้งครรภ์ ทั้งหมด ๙ ขั้นตอน ซึ่งมีขั้นตอนในการปรึกษา

               ก่อนการยุติการตั้งครรภ์ด้วย ซึ่งได้มีการจัดท าเป็นคู่มือโดยความร่วมมือของกรมอนามัย แพทยสภา
               และราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย และหน่วยบริการทุกแห่งของกระทรวงสาธารณสุขจะต้อง

               ปฏิบัติตามคู่มือดังกล่าว
                           ผู้แทนเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมต่อคณะกรรมาธิการ
               ในประเด็น ดังนี้

                           ๑. การเรียกร้องของเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ไม่ใช่การเรียกร้อง
               ให้เกิดการยุติการตั้งครรภ์แบบเสรีหรือการท าแท้งเสรี

                                                                                      ิ
                                   ิ
                           ๒. การพจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยคณะกรรมการพจารณาปรับปรุงประมวล
                                       ั
               กฎหมายอาญา ซึ่งได้รับฟงความคิดเห็นจากผู้แทนจากแพทยสภา ผู้แทนจากราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์
               แห่งประเทศไทย ซึ่งผู้แทนจากหน่วยงานหลักดังกล่าวไม่ใช่ผู้ซึ่งท างานที่เกี่ยวข้องกับการยุติการตั้งครรภ์
               โดยตรง เพราะเหตุใดคณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม่มีการรับฟงความคิดเห็นจากผู้ซึ่งมีหน้าที่โดยตรง เช่น
                                                                      ั
                                                ั
               กรมอนามัย ส านักอนามัยการเจริญพนธุ์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องดังกล่าวโดยตรงและรับทราบ
               ปัญหามาโดยตลอด
                           ๓. จากเอกสารข้อเสนอการปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญาความผิดฐานท าแท้ง ของเครือข่าย
               สนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ได้น าเสนอข้อมูลการวิจัยขององค์การอนามัยโลก โดยสรุป

               รายงานว่า ประเทศใดที่มีกฎหมายที่เข้มงวดเกี่ยวกับเรื่องการยุติการตั้งครรภ์มากเท่าได อัตราการเสียชีวิต
               จากการยุติการตั้งครรภ์จะเพิ่มมากขึ้น และประเทศใดที่มีกฎหมายที่ผ่อนคลายยืดหยุ่นเกี่ยวกับเรื่องการยุติ

               การตั้งครรภ์ อัตราการเสียชีวิตจากการยุติการตั้งครรภ์จะลดลง ซึ่งข้อมูลสถิติดังกล่าวมีความสอดคล้องกัน
               ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศที่ด้อยพัฒนา

                           ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ชี้แจงข้อซักถามต่อที่ประชุมกรณีการรับฟังความคิดเห็น
                       ิ
               ในการพจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญา นอกจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ว คณะกรรมการกฤษฎีกา
               ได้รับฟงความคิดเห็นจากผู้แทนเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม รวมถึงผู้แทน
                      ั
               สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งทางคณะกรรมการได้ให้ความส าคัญกับความเห็น
               ของผู้แทนจากเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม และกรมอนามัย รวมทั้งหลาย ๆ

               หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพอประกอบการพจารณาและความคิดเห็นจากการพจารณาตามค าวินิจฉัยของ
                                                                                     ิ
                                                     ิ
                                      ื่
                                                                                                 ิ
               ศาลรัฐธรรมนูญว่า อายุครรภ์ที่ผู้หญิงจะปลอดภัยที่สุดในการยุติการตั้งครรภ์ คือ อายุครรภ์สบสองสัปดาห์
                                                                                ิ่
               ซึ่งจะไม่มีผลท าให้ทารกรอดออกมาเป็นทารกได้และหากเมื่ออายุครรภ์เพมขึ้นจะมีความเสี่ยงและมีโอกาส
                                                                               ิ
               ที่ตัวอ่อนเจริญเติบโตและรอดเป็นทารกได้ เพราะฉะนั้นจึงต้องมีการพจารณาถึงสิทธิของทารกในครรภ์
               และสิทธิของหญิงที่ตั้งครรภ์เพอให้เกิดความสมดุลกัน ในส่วนของความเห็นเรื่องเศรษฐกิจในการพิจารณา
                                          ื่
               การยุติการตั้งครรภ์ที่อายุครรภ์เกินสิบสองสัปดาห์ ซึ่งจะต้องพจารณาจากข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ร่วมด้วย
                                                                       ิ
                                             ์
               นอกจากนี้ ได้พิจารณาหลักเกณฑแพทยสภาที่กล่าวถึงการยุติการตั้งครรภ์ในประเด็นของสุขภาพของหญิง
                                                                                                       ิ่
               ที่ตั้งครรภ์ทางด้านร่างกายและจิตใจหรือเด็กซึ่งถูกกระท าความผิดทางเพศ ซึ่งจะมีการแก้ไขเพมเติม
                                    ์
               รายละเอียดหลักเกณฑแพทยสภาเรื่องของสิทธิทารกในครรภ์และความไม่ปลอดภัยในร่างกายและจิตใจ
               ของหญิงตั้งครรภ์ รวมถึงกรณีของหญิงที่อายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์

               ให้มีความครอบคลุมและดีมากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันทางกรมอนามัยได้มีคู่มือแนวทางปฏิบัติที่ดูแลในเรื่อง
               ดังกล่าวเช่นกัน ซึ่งที่กล่าวมาข้างต้น คณะกรรมการกฤษฎีกาได้น าข้อมูลรายละเอียดมาประกอบการ
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119