Page 112 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 112

หน้า ๑๐๐                                                                             ส่วนที่ ๓



                           ๓. การรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรณีการก าหนดเวลาอายุครรภ์ในการยุติ

                                      ั
               การตั้งครรภ์ ได้มีการรับฟงความคิดเห็นจากภาคประชาชนหรือผู้ที่มีความทุกข์ใจจากปัญหาการท้องไม่พร้อม
               เพื่อน ามาพิจารณาหรือไม่

                           ๔. ควรมีการตั้งทีมที่ปรึกษาในการให้ค าปรึกษาด้านจิตใจกรณีการยุติการท าแท้ง ในผู้หญิง
               ที่ท้องไม่พร้อม
                           ๕. กระบวนการของกฎหมายกับการยุติการตั้งครรภ์ ซึ่งในส่วนของโรงพยาบาลใช้หลักการ

               ในการยุติการตั้งครรภ์ที่เมื่อพบความผิดปกติในครรภ์ทุกกรณีหรือจากความสมัครใจของผู้หญิงที่ตั้งครรภ์
                                               ิ
                         ื่
               หรือไม่ เพอน ามาเป็นข้อมูลการพจารณาในการแก้ไขกฎหมายให้ครอบคลุมและสามารถแก้ไขปัญหา
               ได้อย่างเป็นรูปธรรม
                           ๖. หน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมมีความคิดเห็นต่อสิทธิของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมแล้วต้องยุติ
               การตั้งครรภ์และสิทธิเด็กอย่างไร

                           ๗. ในระยะเวลา ๖๐ กว่าปี ที่ผ่านมา มีคดีที่เกี่ยวข้องกับการยุติการตั้งครรภ์ในกรณีของแพทย์
               ผู้กระท าหรือผู้หญิงที่ยุติการตั้งครรภ์ถึงที่สุดให้จ าคุก หรือไม่ และเมื่อกฎหมายไม่มีสภาพบังคับใช้

               ได้จริงควรยกเลิกหรือไม่ อย่างไร
                           ๘. กรณีข้อบังคับแพทยสภาที่มีการก าหนดหญิงมีอายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ ยืนยันที่จะ
               ยุติการตั้งครรภ์ โดยไม่มีความผิด และได้กล่าวถึงโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่สามารถยุติการตั้งครรภ์ที่มีอายุ

                                                                                      ั
               ครรภ์มากกว่าสิบสองสัปดาห์ ซึ่งจากข้อมูลของหน่วยงานได้ให้ข้อมูลถึงการรับฟงความคิดเห็นจากผู้แทน
               จากแพทยสภา ผู้แทนจากราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยมีความคิดเห็นว่า อายุครรภ์ที่ผู้หญิง

               จะปลอดภัยที่สุดในการยุติการตั้งครรภ์ คือ อายุครรภ์สิบสองสัปดาห์ ซึ่งเป็นความเห็นที่แตกต่างกับ
                                                                                    ิ
                                                                            ื่
               ข้อบังคับของแพทยสภาเอง จึงจะต้องมีการขอข้อมูลและเอกสารเพอน ามาพจารณาข้อเท็จจริงในส่วนนี้
               และได้มีการแสดงความคิดเห็นต่อว่า การยุติการตั้งครรภ์ควรอยู่ที่อายุครรภ์ยี่สิบสัปดาห์ เป็นระยะเวลา
               ที่เหมาะสม
                           ๙. การออกพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙

               ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่มีอายุต่ ากว่า ๑๕ ปี ที่ตั้งครรภ์ในทุกกรณีที่ถูกกระท าความผิด
               เกี่ยวกับเพศ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องของอายุครรภ์ ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขจึงต้องออกกฎกระทรวง

               หรือแนวทางการปฏิบัติจะต้องสามารถรองรับการยุติการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่มีอายุต่ ากว่า ๑๕ ปี ทุกรายที่ถูก
               ละเมิดเพศ ซึ่งปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีการด าเนินการเพื่อรองรับในประเด็นนี้หรือไม่
                           ๑๐. ควรมีการก าหนดอายุครรภ์ที่เหมาะสมในการยุติการตั้งครรภ์ที่มากกว่าสิบสองสัปดาห์

               หรือยกเลิกการก าหนดอายุครรภ์ในการยุติการตั้งครรภ์ และมีกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการเจริญพันธุ์
               เพื่อรองรับและแก้ปัญหากระบวนการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยทั้งหมด

                           ๑๑. กรณีศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน ๑๓๐๐ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวง
               การพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นสายด่วนที่รับปรึกษาปัญหาทุกกรณี ยกเว้นกรณีเกี่ยวกับ
                     ั
               การตั้งครรภ์ ซึ่งได้มีกรณีตัวอย่างที่ผู้ประสบปัญหาโทรปรึกษาปัญหาการตั้งครรภ์และได้รับการปฏิเสธ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117