Page 108 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 108
หน้า ๙๖ ส่วนที่ ๓
ในส่วนกรณีของ นางสาวศรีสมัย เชื้อชาติ อดีตผู้อ านวยการโรงพยาบาลกุยบุรีที่ถูกด าเนินคดี
ฐานความผิดท าให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้นยินยอม ซึ่งได้ยื่นค าร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญให้ตีความประมวล
กฎหมายอาญาความผิดฐานท าแท้ง มาตรา ๓๐๑ และมาตรา ๓๐๕ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ต่อมา
ศาลรัฐธรรมนูญได้มีค าวินิจฉัยที่ ๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ว่า มาตรา ๓๐๑ แห่งประมวล
กฎหมายอาญา ขัดหรือแย้งต่อมาตรา ๒๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยในส่วนที่ขัดหรือแย้ง
้
ดังกล่าวมีผลเมื่อพนก าหนดสามร้อยหกสิบวันนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญได้มีค าวินิจฉัย และให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องสมควรด าเนินการปรับปรุงแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องท าแท้ง
ื่
เพอให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน หลังจากนั้น คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓
มอบหมายให้ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงยุติธรรม
ี
ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎกา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมด าเนินการแก้ไขปรับปรุงและด าเนินการ
ให้แล้วเสร็จภายในสามร้อยหกสิบวันนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญได้มีค าวินิจฉัย
จากนั้น ที่ประชุมได้ตั้งข้อสังเกตและมีประเด็นซักถามต่อหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุม ดังนี้
๑. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตีความค าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอย่างไร และหากด าเนินการ
แก้ไขไม่แล้วเสร็จภายในสามร้อยหกสิบวัน มาตรา ๓๐๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ถือว่าเป็นโมฆะ
หรือไม่ อย่างไร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถยืนยันว่าจะแก้ไขแล้วเสร็จภายในสามร้อยหกสิบวัน
นับจากวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ และกรณีศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้วินิจฉัยแก้ไข มาตรา ๓๐๕ แห่งประมวล
กฎหมายอาญา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตีความ มาตรา ๓๐๕ แห่งประมวลกฎหมายอาญาประการใด
ิ่
๒. ในส่วนของร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
(แก้ไขเพมเติมบทบัญญัติความผิดฐานท าแท้ง) ของส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ได้มีการยกร่าง
ิ่
ซึ่งมีประเด็นของการมีส่วนร่วมที่มีการเปิดรับฟงความคิดเห็นและได้มีผู้แสดงความคิดเห็นจ านวนน้อย
ั
จึงต้องท าการขยายเวลาการเปิดรับฟังความคิดเห็น เพราะเหตุใดจึงมีการเปิดรับฟังความคิดเห็นที่จ ากัด
๓. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (แก้ไขเพิ่มเติม
ี
บทบัญญัติความผิดฐานท าแท้ง) ของส านักงานคณะกรรมการกฤษฎกาที่ได้มีการยกร่าง ได้ก าหนดให้หญิง
ซึ่งมีอายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ ผู้กระท าไม่มีความผิด ซึ่งจะผลต่อชีวิตจริง
ของผู้หญิงที่ถูกละเมิดทางเพศที่ไม่รู้ตัวว่าตนเองตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นประเด็นที่ควรจะต้องมีการพิจารณาเพิ่มเติม
๔. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการยุติการตั้งครรภ์อย่างไร เพราะเหตุใด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงไม่เสนอกฎหมายเฉพาะส าหรับการยุติการตั้งครรภ์เท่านั้น
๕. ควรมีการแสดงความคิดเห็นจากภาคประชาชน กรณีสิทธิในเนื้อตัวร่างกายของผู้หญิง
ที่ตั้งครรภ์ว่ามีขอบเขตมากน้อยเพยงใด และระหว่างสิทธิในเนื้อตัวร่างกายของผู้หญิงและสิทธิเด็กที่อยู่
ี
ในครรภ์หลังปฏิสนธิ มีมุมมองและความคิดเห็นประการใด
หน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมได้ให้ข้อมูลและตอบประเด็นข้อซักถามต่อที่ประชุม ดังนี้
ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมว่า ตามที่ศาลรัฐธรรมนูญได้มี
ค าวินิจฉัย มาตรา ๓๐๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และมีผลบังคับภายในสามร้อยหกสิบวันนับตั้งแต่ศาลรัฐธรรมนูญมีค าวินิจฉัยนั้น หมายความว่า หากไม่มี
การแก้ไขภายในสามร้อยหกสิบวันเป็นผลท าให้ มาตรา ๓๐๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา นั้น ต้องสิ้นผลไป
ิ
ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ท าการสอบถามไปยังศาลรัฐธรรมนูญและจากการพจารณาของผู้เชี่ยวชาญ
ด้านกฎหมาย โดยมีความเห็นตรงกันว่าต้องด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในสามร้อยหกสิบวัน มิฉะนั้นแล้ว