Page 113 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 113

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๐๑



                                                      ั
                           จากนั้น ผู้แทนกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ให้ข้อมูลและชี้แจง
               ประเด็นซักถามต่อที่ประชุมว่า
                                                                                                        ั
                           ๑. ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน ๑๓๐๐ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงการพฒนา
               สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นสายด่วนที่รับปรึกษาปัญหาทุกกรณี ซึ่งในกรณีการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
               หากผู้ตั้งครรภ์ไม่มีที่พักอาศัยจะมีการด าเนินการส่งต่อไปยังบ้านพักเด็ก
                           ๒. กระบวนการการท างานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีกระบวนการ

               ที่ชัดเจน ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ และกฎกระทรวง
               สาธารณสุขที่รองรับการยุติการตั้งครรภ์ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และก าหนดวิธีการให้ค าปรึกษา

                               ู
                            ื
               แนะน าหรือฟนฟเยียวยาทั้งก่อนและหลังการตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ และด าเนินการร่วมกับกระทรวง
               ศึกษาธิการ หากเป็นกรณีที่เกิดการตั้งครรภ์ในสถานศึกษาหรือการท้องไม่พร้อมของเด็ก รวมถึงด าเนินการ
               ร่วมกับโรงพยาบาลทั่วประเทศ

                           ๓. กรณีการแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาตามค าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ กระทรวง
                     ั
               การพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม และเสนอความคิดเห็น
               เมื่อส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ส่งร่างกฎหมายที่แก้ไขกลับมายังกระทรวงการพฒนาสังคม
                                                                                                  ั
               และความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งจะมีการตรวจสอบร่างกฎหมายและด าเนินการรับฟงความเห็นจาก
                                                                                              ั
               คณะอนุกรรมการชุดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพอด าเนินการจัดท าเป็นความเห็นในรูปแบบของกระทรวงและส่งให้
                                                    ื่
               ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาด าเนินการในชั้นต่อไป
                           ผู้แทนกระทรวงยุติธรรม ได้ให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการว่า ตามเจตนารมณ์ของค าวินิจฉัย

               ของศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๔/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ไม่ได้มีความประสงค์ให้มีการเปิดการยุติ
               การตั้งครรภ์แบบเสรี เพียงแต่เปิดโอกาสให้มีการปรับปรุงแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา โดยให้ความส าคัญ

               กับการยุติการตั้งครรภ์และความอยู่รอดของเด็กในครรภ์ ซึ่งทางกระทรวงยุติธรรมได้มีการประชุมร่วมกับ
               คณะกรรมการกฤษฎีกาและได้ข้อยุติร่วมกันว่า ควรจะน าอายุครรภ์มาเป็นเกณฑในการพจารณาว่า
                                                                                           ์
                                                                                                   ิ
               หญิงมีอายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ โดยไม่มีความผิด และมีประเด็นที่มี
               ความเห็นเพมเติมถึงผู้ที่กระท าการยุติการตั้งครรภ์หรือผู้ที่ประกอบวิชาชีพเวชกรรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง
                           ิ่
               ซึ่งจะต้องเป็นสูตินรีแพทย์ และอายุครรภ์ยิ่งเพิ่มมากขึ้นประสบการณ์ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจะต้อง

                                                                                              ื่
                                                                              ์
               เป็นผู้ที่มีประสบการณ์มากขึ้น และควรที่จะต้องก าหนดเป็นหลักเกณฑของแพทยสภา เพอความปลอดภัย
               และกรณีของสถิติคดีตามที่ที่ประชุมซักถาม ซึ่งต้องท าการประสานไปยังส านักงานศาลยุติธรรมที่เป็น
               หน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง

                           ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงข้อซักถามในประเด็นการฝากครรภ์ ตามมาตรฐานระบบ
               การฝากครรภ์ ซึ่งจะต้องมีการคัดกรอง เพื่อประเมินความเสี่ยงว่า ผู้ตั้งครรภ์อยู่ในความเสี่ยงระดับใด ระดับ

               ความเสี่ยงสูงหรือระดับความเสี่ยงต่ า เมื่อเข้าสู่ระบบการคัดกรองพบว่า กลุ่มใดอยู่ในระดับความเสี่ยงสูง
               ก็จะได้รับการดูแล เช่น ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ที่มีอายุมากหรือเกิน ๓๕ ปี ก็จะเป็นข้อบ่งชี้ในการวินิจฉัยความผิดปกติ
               ในเรื่องของโครโมโซม ซึ่งมีกระบวนการในการเจาะน้ าคร่ าและน ามาวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติหรือไม่ ต้องมี

               การยุติการตั้งครรภ์หรือไม่ โดยจะต้องขึ้นอยู่กับอ านาจการตัดสินใจของมารดาว่าจะตั้งครรภ์ต่อ หรือยุติ
                                                                                                    ั
               การตั้งครรภ์ หากมารดาสามารถเลี้ยงดูเด็กที่ผิดปกติได้ ก็จะต้องเข้าสู่กระบวนการกระตุ้นพฒนาการ
                     ิ
               เป็นพเศษต่อไป ถ้ามารดามีความประสงค์ที่จะยุติการตั้งครรภ์ก็จะเข้าประเด็นมาตรา ๓๐๕ แห่งประมวล
               กฎหมายอาญา ด้วยเหตุผลสุขภาพทางจิต และกรณีข้อซักถามเกี่ยวกับการให้ค าปรึกษาในการยุติการตั้งครรภ์
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118