Page 115 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 115

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๐๓



                 ิ
               พจารณาทั้งหมด โดยขณะนี้คณะกรรมการกฤษฎีกาอยู่ระหว่างด าเนินการส่ง ร่างพระราชบัญญัติแก้ไข
                                                                      ิ่
                  ิ่
               เพมเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (แก้ไขเพมเติมบทบัญญัติความผิดฐานท าแท้ง) ไปยัง
                                                                                               ิ
               หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมถึงส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นเพอประกอบการพจารณา ภายใน
                                                                                 ื่
               ๕ วัน และคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอต่อรัฐสภาด าเนินการพิจารณาต่อไป
                           เมื่อได้พิจารณาแล้ว คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกตและข้อคิดเห็น ดังนี้
                           ๑. ค าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญเป็นค าวินิจฉัยที่เน้นในเรื่องสิทธิผู้หญิง ซึ่งเป็นมาตรการ

               ในการคุ้มครองผู้หญิง ดังนั้น การร่างกฎหมายควรน าไปสู่ประเด็นสิทธิและการคุ้มครองผู้หญิง
                           ๒. มาตรา ๓๐๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา มีการแก้ไขโดยให้ผู้หญิงสามารถท าแท้งที่

               อายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ ได้ด้วยตนเองโดยไม่มีความผิด และซึ่งด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ทันสมัย
               ในการผลิตยาที่ปลอดภัยต่อร่างกายผู้หญิงที่ยุติการตั้งครรภ์มากยิ่งขึ้น
                           ๓. มาตรา ๓๐๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ก าหนดให้ผู้ใดท าให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้น

               ยินยอม มีความผิด ซึ่งเมื่อ มาตรา ๓๐๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ได้มีการแก้ไขโดยเปิดโอกาสให้หญิง
               สามารถท าแท้งที่อายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ ได้ด้วยตนเองโดยต้องมีความปลอดภัย ดังนั้น จึงควรมี

               การแก้ไขมาตรา ๓๐๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ให้ผู้ใดที่ท าให้หญิงแท้งลูกที่อายุครรภ์ไม่เกินสิบสอง
               สัปดาห์ โดยหญิงนั้นยินยอม ไม่มีความผิด
                           ๔. มาตรา ๓๐๕ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ที่แก้ไขให้แพทย์สามารถท าการยุติการตั้งครรภ์

               ได้ใน ๔ กรณี ดังต่อไปนี้
                             (๑) จ าเป็นต้องกระท าเนื่องจากหากหญิงตั้งครรภ์ต่อไปจะเสี่ยงต่อการได้รับอันตรายต่อ

               สุขภาพทางกายหรือจิตใจของหญิงนั้น
                             (๒) จ าเป็นต้องกระท าเนื่องจากหากทารกคลอดออกมาจะมีความเสี่ยงอย่างมากที่จะได้รับ

               ผลกระทบจากความผิดปกติทางกายหรือจิตใจถึงขนาดทุพพลภาพอย่างร้ายแรง
                             (๓) หญิงมีครรภ์เนื่องจากมีการกระท าความผิดเกี่ยวกับเพศ หรือ
                             (๔) หญิงซึ่งมีอายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ผู้กระท าไม่มีความผิด

                             ซึ่งความใน (๑), (๒) และ (๓) ต้องไม่เกี่ยวกับอายุครรภ์ในการยุติการตั้งครรภ์และการก าหนด
               หลักเกณฑ์ของแพทยสภาจะต้องไม่ก าหนดอายุครรภ์ในการยุติการตั้งครรภ์ด้วย ซึ่งตามเดิมของกฎหมายดังกล่าว

               ก็ไม่ได้ระบุอายุครรภ์เช่นกัน
                           ๕. มาตรา ๓๐๕ แห่งประมวลกฎหมายอาญา (๔) หญิงซึ่งมีอายุครรภ์ไม่เกินสิบสองสัปดาห์
               ยืนยันที่จะยุติการตั้งครรภ์ผู้กระท าไม่มีความผิด ซึ่งจากกรณีนี้หญิงอยู่ในความดูแลของแพทย์แล้ว

                                                                           ี
               เพราะเหตุใดจึงก าหนดอายุครรภ์ของการยุติการตั้งครรภ์โดยแพทย์เพยงสิบสองสัปดาห์ เท่ากับการก าหนดให้
               หญิงยุติการตั้งครรภ์เองได้ ซึ่งแพทย์มีกระบวนการในการควบคุมดูแลที่ปลอดภัย รวมถึงข้อมูลในปัจจุบัน

               ที่ระบุว่ากระบวนการทางการแพทย์มีกระบวนการในการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยยิ่งขึ้นกว่าเดิม ดังนั้น
               การยุติการตั้งครรภ์โดยแพทย์ควรมีอายุครรภ์มากกว่าสิบสองสัปดาห์ และสิทธิของแพทย์ในการพจารณา
                                                                                                      ิ
               ก าหนดอายุครรภ์ในการยุติการตั้งครรภ์ควรจะมากกว่าที่ก าหนดให้หญิงสามารถท าแท้งที่อายุครรภ์ไม่เกิน

               สิบสองสัปดาห์ ได้ด้วยตนเอง
                           ๖. ควรน าร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (แก้ไข

                                                                                               ิ
               เพมเติมบทบัญญัติความผิดฐานท าแท้ง) ของทุกหน่วยงานที่ได้จัดท าร่างกฎหมายดังกล่าวมาพจารณาวิเคราะห์
                  ิ่
               และสรุปเป็นรายงาน เพื่อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เป็นรูปธรรมได้จริง
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120