Page 99 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 99
ส่วนที่ ๓ หน้า ๘๗
การศึกษาพิจารณาของคณะกรรมาธิการโดยอาศัยเทียบเคียงกับต่างประเทศที่ด าเนินนโยบาย
สร้างเสริมการเข้าถึงผ้าอนามัยของบุคคล อันน ามาซึ่งสุขอนามัยที่ปลอดภัย พบว่าบางประเทศมุ่งเน้นมิติ
ด้านเศรษฐกิจโดยอาศัยมาตรการทางภาษี บางประเทศอาศัยมาตรการด้านสาธารณสุขหรือบางประเทศ
ื่
์
มุ่งเน้นที่การให้บริการแบบให้เปล่าแก่เด็กหญิงและสตรีวัยเรียนเพอการเข้าถึงผลิตภัณฑเพอสุขอนามัย
ื่
อย่างมีมาตรฐาน
สาธารณรัฐเคนยา
สาธารณรัฐเคนยานับได้ว่าเป็นประเทศแรกของโลกที่น ามาตรการทางภาษีมาส่งเสริมการเข้าถึง
ิ่
ผ้าอนามัยของสตรี เมื่อปี ๒๐๐๔ รัฐบาลเคนยาได้ปรับโครงสร้างด้านภาษีการค้า โดยยกเลิกภาษีมูลค่าเพม
์
ที่เรียกเก็บจากการจ าหน่ายผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือนภายในประเทศ โดยมีเป้าหมายให้เด็กหญิง
์
หรือสตรีที่มีฐานะยากจนและขาดแคลนทางเศรษฐกิจ สามารถเข้าถึงผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือนตาม
ิ่
์
มาตรฐานคุณภาพชีวิต ซึ่งมาตรการดังกล่าวเป็นการเพมโอกาสการเข้าถึงผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือน
อย่างมีนัยส าคัญ ผู้ผลิตและผู้จ าหน่ายไม่ต้องรับภาระด้านภาษีมูลค่าเพม ผลิตภัณฑมีราคาลดลง รายจ่าย
์
ิ่
เพื่อสุขภาวะลดลง รายได้ครัวเรือนสามารถน าไปสร้างคุณภาพชีวิตด้านอื่นได้มากขึ้น อันเป็นการยกระดับ
มาตรฐานการด าเนินชีวิตให้สมบูรณ์ขึ้น ในปี 2007 รัฐบาลได้วางนโยบายขยายผลโดยการแจกผ้าอนามัยใน
โรงเรียนของรัฐ ต่อมาในปี 2011 ขยายไปสู่โรงเรียนเอกชน ซึ่งรัฐบาลสนับสนุนงบประมาณ ส่งเสริม
กิจกรรม จัดสรรทรัพยากรเพอการดูแลสุขอนามัยประจ าเดือนส าหรับเด็กหญิงและสตรีที่ก าลังศึกษาเล่า
ื่
เรียน พร้อมทั้งยกเลิกภาษีน าเข้าสินค้าประเภทผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือนที่น าเข้ามาจ าหน่าย
์
ภายในประเทศ ซึ่งเป็นการสืบสานนโยบายการเข้าถึงผลิตภัณฑสุขอนามัยของประชาชน อันเป็นการลด
์
ความเหลื่อมล้ า
สหราชอาณาจักร
ิ่
วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๔ รัฐบาลสหราชอาณาจักร ประกาศยกเลิกภาษีมูลค่าเพมส าหรับ
ผลิตภัณฑ์สุขอนามัยประจ าเดือน เพื่อต้องการให้เด็กหญิงและสตรีการเข้าถึงผลิตภัณฑ์สุขอนามัยได้ง่ายขึ้น
ทั้งนี้ ก่อนหน้านั้นมีความพยายามขององค์กรด้านสิทธิสตรีทั้งในอังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์เหนือ
ได้รณรงค์ผลักดันให้รัฐบาลสหราชอาณาจักรค านึงถึงสิทธิของเด็กหญิงและสตรีในการเข้าถึงผลิตภัณฑ ์
สุขอนามัยประจ าเดือนในชีวิตประจ าวันอย่างเหมาะสม เมื่อมาตรการนี้ได้รับการสานต่อและมีผลใช้บังคับแล้ว
ื้
เด็กหญิงและสตรีที่มีพนฐานครอบครัวยากจนสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น ลดปัญหาภาวะที่ไม่สามารถเข้าถึง
ผลิตภัณฑสุขอนามัยลงได้อย่างชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมความเท่าเทียมอีกทางหนึ่งด้วยเช่นกัน
์
และเพื่อขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าว ได้แจกผ้าอนามัยแบบให้เปล่าในสถานศึกษาและสถานพยาบาลของรัฐ
นอกจากนี้ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านสุขอนามัยประจ าเดือนแก่เด็กหญิงและสตรีให้ได้รับความคุ้มครอง ตลอดจน
ส่งเสริมสิทธิ ความปลอดภัย และการมีคุณภาพชีวิตที่ดี รัฐบาลสหราชอาณาจักรจึงจัดตั้งกองทุนผ้าอนามัยขึ้น
เพื่อให้กองทุนนี้ด าเนินการสนับสนุนกิจกรรมดังกล่าว โดยที่กองทุนนี้ มีรายได้มาจากภาษีมูลค่าเพมสินค้า
ิ่
จ าพวกผลิตภัณฑสุขอนามัยเมื่อปี ๒๐๑๕ การด าเนินงานของกองทุนยังได้ขยายผลไปสู่การต่อต้าน
์
ความรุนแรงต่อเด็กและสตรี โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยรุ่น และกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม
ด้านสุขอนามัยของเด็กและสตรี รวมถึงกิจกรรมสนับสนุนกลุ่มบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศอีกด้วย
์
อนึ่ง สกอตแลนด์ ได้ให้ความส าคัญต่อผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือนเพอให้เด็กหญิงและสตรี
ื่
ที่มีฐานะยากจนได้มีโอกาสเข้าถึงได้อย่างสะดวก องค์กรภาคประชาสังคมจึงรณรงค์เคลื่อนไหวให้รัฐบาล
ื่
สกอตแลนด์หามาตรการเพอปกป้องสิทธิของกลุ่มคนเหล่านี้ ในปี ๒๐๒๐ รัฐบาลขานรับข้อเรียกร้องนี้