Page 100 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 100
หน้า ๘๘ ส่วนที่ ๓
์
โดยจัดท าโครงการจัดการผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือน พร้อมกับผลักดันร่างพระราชบัญญัติว่าด้วย
์
ผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือน มีสาระส าคัญเป็นการปกป้องและคุ้มครองสิทธิของเด็กและสตรีที่มี
์
ประจ าเดือนย่อมเข้าถึงผลิตภัณฑสุขอนามัยได้แบบให้เปล่า เสมอภาค โดยให้โรงเรียนประถมศึกษา
์
มัธยมศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยทุกแห่ง ต้องจัดให้มีผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือนแก่เด็กหญิง
และสตรีภายในห้องน้ า และห้องสุขาของสถาบัน โดยให้เข้าถึงโดยง่าย เป็นการส่วนตัวอย่างสมเหตุสมผล
รวมทั้งสามารถเลือกชนิดผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการขั้นพื้นฐานและสภาพทางกายของแต่ละบุคคล
แคนาดา
แต่เดิมประเทศแคนาดาก็ไม่แตกต่างจากหลายประเทศทั่วโลก ที่มองว่าผ้าอนามัยเป็นสินค้า
ุ่
ื
ฟมเฟอยจึงวางมาตรการทางภาษีเรียกเก็บสินค้าดังกล่าวที่น าเข้ามาจ าหน่ายในประเทศจนเป็นอุปสรรค
ต่อการเข้าถึงของเด็กหญิงและสตรีที่มาจากครอบครัวยากจน ทั้งที่เป็นผลิตภัณฑจ าเป็นต่อสุขภาพ
์
ของประชาชน ซึ่งแตกต่างจากสินค้าบางประเภทที่ไม่มีความจ าเป็นต่อสุขภาพแต่รัฐบาลกลับยกเว้นภาษีน าเข้า
ในปี ๒๐๑๕ จึงเกิดการรณรงค์ของประชาชนทางออนไลน์ เพื่อขอให้รัฐบาลยกเลิกการจ าแนกให้ผลิตภัณฑ ์
สุขอนามัยประจ าเดือนเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย
ในทางการเมือง ได้มีการเคลื่อนไหวให้มีการยกเลิกการจัดเก็บภาษีผลิตภัณฑสุขอนามัย
์
ประจ าเดือนมาตั้งแต่ปี ๒๐๐๔ เมื่อ Jucy Wasylicia-Leis สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงจากพรรค
ประชาธิปไตยใหม่ เล็งเห็นปัญหาด้านราคาของสินค้าจ าพวกผ้าอนามัยจนเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงของ
เด็กหญิงและสตรี จึงได้พยายามเสนอร่างกฎหมายเพอยกเลิกการจัดเก็บภาษี แต่ไม่ประสบความส าเร็จ
ื่
ต่อมา ในปี ๒๐๑๕ ได้มีการรวมกลุ่มกันของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงเสนอร่างกฎหมาย Bill C-282
แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ Excise Tax Act (Feminine Hygiene Products) ด้วยเห็นพ้องต้องกันว่ามาตรการ
ทางภาษีที่ผ่านมาเป็นการเลือกปฎิบัติต่อเพศ ทั้งที่การมีประจ าเดือนของเด็กหญิงและสตรีวัยเจริญพันธุ์เป็นมิติ
ิ
ทางธรรมชาติ ระยะแรกรัฐบาลแคนาดาเพกเฉยและไม่สนับสนุนร่างกฎหมายดังกล่าว แต่เมื่ออมีการเคลื่อนไหว
์
ทางสังคมออนไลน์ด้วยรัฐบาลจึงสนองตอบโดยการยกเลิกมาตรการทางภาษีสินค้าจ าพวกผลิตภัณฑสุขอนามัย
ประจ าเดือนมีอัตราเป็นศูนย์
สาธารณรัฐโตลอมเบีย
วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งโคลอมเบีย มีค าวินิจฉัยที่ C-117 ว่า การที่
รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐโคลอมเบียซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุด ได้วางหลักความเสมอภาคเท่าเทียมของบุคคลไว้
โดยห้ามมิให้รัฐก าหนดมาตรการอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นการเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมเพราะเหตุความ
แตกต่างในเรื่องเพศ สถานภาพทางกายและสุขภาพ รวมทั้งฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ การที่รัฐออก
์
มาตรการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพมจากผลิตภัณฑสุขอนามัยประจ าเดือนอัตราร้อยละ ๕ ย่อมเป็นการเลือกปฏิบัติ
ิ่
ต่อผู้หญิงเป็นการเฉพาะ ซึ่งหมายความว่าผู้หญิงต้องเป็นฝ่ายรับภาระจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มในผลิภัณฑดังกล่าว
์
ทั้งที่เป็นสิ่งจ าเป็นต่อการด าเนินชีวิตประจ าวันของตน ขณะที่ผู้ชายไม่ต้องรับภาระดังกล่าวนี้ เท่ากับว่าการจัดเก็บ
ภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรการนี้เป็นการเลือกปฏิบัติต่อสตรี อันส่งผลต่อครอบครัวของหญิงที่มีฐานะยากจน
์
ิ่
ศาลรัฐธรรมนูญแห่งโคลอมเบียจึงวินิจฉัยว่าการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพมจากสินค้าหรือผลิตภัณฑสุขอนามัย
ประจ าเดือนขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งโคลอมเบียซึ่งถือได้ว่าเป็นองค์กร
ที่มีความส าคัญยิ่งต่อการปกป้องและคุ้มครองสิทธิความเสมอภาคของบุคคลให้ได้รับการปฏิบัติจากรัฐอย่าง
เท่าเทียม โดยมีค าวินิจฉัยที่ T-398 ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ว่านครหลวงโบโกตา ได้ละเมิดสิทธิในการ
สืบพนธุ์ สิทธิในเพศ อิสรภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เพศหญิงที่ยากจน หรือไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง
ั