Page 93 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 93
ส่วนที่ ๓ หน้า ๘๑
ิ
ว่าจะต้องรับรองเป็นความลับ และพจารณาเกี่ยวกับประกันสังคมของบุคคลดังกล่าวว่าหากมีการ
ค้าประเวณี ควรค้าประเวณีในสถานบริการที่ลงทะเบียนไว้หรือไม่ รวมถึงการพิจารณาเงื่อนไขการก าหนด
ระยะเวลาการท างาน
การยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี กรมกิจการสตรี
และสถาบันครอบครัว ต้องย้อนไปด าเนินการในขั้นตอนวิเคราะห์ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย ดังนั้น
ื่
จึงมีข้อเสนอแนะเพอเป็นแนวทางให้กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวน าไปพจารณาศึกษา
ิ
และวิเคราะห์ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายดังกล่าว เพื่อให้ได้ร่างกฎหมายที่สมบูรณ์มากขึ้น ดังนี้
๑. ผลกระทบของการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการล่อซื้อ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบ
ิ
ครัว ควรหยิบยกปัญหาดังกล่าวขึ้นมาพจารณาประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย รวมถึงการ
ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยมีรายละเอียดของ
ร่างกฎหมายที่ยกร่างยังคงก าหนดเรื่องของการลงทะเบียนและการก าหนดพื้นที่ จึงมีข้อเสนอแนะว่าการยก
ร่างกฎหมายนั้นต้องตระหนักเรื่องของการจะยกเลิกเรื่องของการค้าประเวณีหรือไม่ หรือมีมาตรการทาง
กฎหมายรองรับเรื่องนี้อย่างไร รวมถึงศึกษาว่ารัฐมีผลได้ผลเสียอย่างไรในการควบคุมเรื่องการค้าประเวณี
และควรทบทวนศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น งานวิจัยเรื่อง ปัญหาการก าหนดความรับผิดของผู้
ค้าประเวณี
๒. แรงงานนอกระบบเกี่ยวกับสิทธิประกันสังคมของกลุ่ม Sex worker บางกลุ่มประสงค์อยาก
เข้าถึงสิทธิประกันสังคม ซึ่งมีวิธีการอย่างไรในการให้กลุ่มดังกล่าวเข้าถึงสิทธิ และหน่วยงานรับผิดชอบ
ด าเนินการเรื่องประกันสังคม คือ กระทรวงแรงงาน ส่วนการลงทะเบียนหน่วยงานรับผิดชอบด าเนินการ คือ
กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยทั้งสองหน่วยงานมีการด าเนินงานคาบเกี่ยวกัน
ั
ดังนั้น จึงต้องมีการบูรณาการการด าเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
๓. ร่างกฎหมายที่ได้ยกร่างยังคงมีมาตรการลงโทษผู้ค้าประเวณีในมาตราต่าง ๆ หรือไม่
ด้วยเหตุผลอย่างไร และยังคงมีมาตรการที่ส่งต่อไปอบรมเหมือนกฎหมายฉบับเดิมหรือไม่ โดยต้องกลับไป
วิเคราะห์อีกครั้งเนื่องจากยังคงมีมาตรการลงโทษที่ได้หยิบยกเอาพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ มาใช้ในตัวยกร่างกฎหมายอยู่ รวมถึงสภาพปัญหาการน ามาตรการลงโทษตาม
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ มาข่มขู่เพอละเมิดสิทธิของผู้ค้าประเวณี
ื่
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวได้น าเสนอปัญหาดังกล่าวสะท้อนไปยังหน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมาย
หรือไม่
๔. การเสนอซื้อขายประเวณีผ่านออนไลน์มีเสรีมากสามารถเผยแพร่ได้ทั่วโลกและไม่มีพรมแดน
ิ
ควรพจารณาผลกระทบและมาตรการทางกฎหมาย รวมถึงการด าเนินการอย่างไรของการเสนอซื้อขาย
ประเวณีผ่านออนไลน์ซึ่งหากมองมุมสิทธิเสรีภาพจะเป็นเพยงการด าเนินงานของผู้ค้าประเวณีเอง ดังนั้น
ี
ควรพิจารณาศึกษา วิเคราะห์แยกออกจากส่วนอื่น ๆ ของการยกร่างกฎหมาย
๕. การบังคับใช้กฎหมายจะท าอย่างไรให้เรื่องการค้าประเวณีเป็นเรื่องไม่ถูกตีตราและคุ้มครอง
สิทธิของผู้ค้าประเวณีเพราะเป็นเรื่องสิทธิส่วนบุคคล โดยการยกร่างกฎหมายควรพิจารณาแนวคิดออกเป็น
๒ กลุ่ม คือกลุ่มอนุรักษ์นิยมและกลุ่มเสรี เพื่อความชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องเพศและประชาชนมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมาย