Page 92 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 92
หน้า ๘๐ ส่วนที่ ๓
รับช่วงด าเนินงานต่อเมื่อ ๒ ปีที่แล้ว โดยมีหลักการท างานที่มุ่งเน้นให้การป้องกัน ดูแลและช่วยเหลือผู้เสียหาย
ู
ื้
และให้โอกาสบุคคลเหล่านี้ได้รับการคุ้มครอง การบ าบัดรักษาโรค การฟนฟจิตใจ รวมถึงการฝึกอบรม
และพัฒนาอาชีพ ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อให้กลับไปใช้ชีวิตต่อไปได้
ั
การด าเนินงานในการคุ้มครอง ป้องกันและพฒนาอาชีพนั้น อยู่ภายในการก ากับดูแลของ
คณะกรรมการตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ คือ
ั
๑. คณะกรรมการคุ้มครองและพฒนาอาชีพ (ก.ค.อ.) ซึ่งเป็นคณะกรรมการในระดับชาติ มีอ านาจหน้าที่
ั
ก าหนดนโยบายการ คุ้มครองและพฒนาอาชีพ ก าหนดแนวทางปฏิบัติร่วมกันกับส่วนราชการ
และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี และ ๒. คณะกรรมการคุ้มครอง
ั
และพฒนาอาชีพประจ าจังหวัด มีอ านาจหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการประสานงานระหว่างภาครัฐ
และภาคเอกชนทั้งในด้านข้อมูล ทรัพยากร และการปฏิบัติงานในการป้องกันและปราบปรามการ
ค้าประเวณีของจังหวัด ซึ่งการด าเนินงานที่มีอยู่ในส่วนกลางและตามภูมิภาคทุกจังหวัดแล้ว ยังได้มีการ
ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งฝ่ายปกครอง สาธารณสุข และต ารวจ รวมทั้งภาคเอกชน
เช่น มูลนิธิเอ็มพาวเวอร์ และมูลนิธิอิสรชน เป็นต้น ด้วย
ในส่วนของการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ก าลังด าเนินการอยู่ในขณะนี้ มีเจตนารมณ์ที่จะท าให้
การค้าประเวณีมีระบบการควบคุมดูแล มีทะเบียนที่ชัดเจน ซึ่งเมื่อเข้ามาอยู่ในระบบถูกต้องตามกฎหมาย
ก็จะไม่ถูกจับกุม แต่หากออกนอกระบบจะถูกลงโทษ โดยก่อนยกร่างได้มีการรับฟงความคิดเห็น สรุปได้
ั
เป็น ๒ แนวคิด คือ ๑. เห็นด้วย ให้มีการลงทะเบียนแบบอิสระ หรือ แบบมีสังกัด (อิงอยู่กับสถานบริการ)
๒. ไม่เห็นด้วย ที่ให้มีการลงทะเบียนเพราะจะเป็นการถูกตีตราและมีความกังวลในเรื่องชั้นความลับ
ของข้อมูล รวมถึงอาจเป็นการส่งเสริมค่านิยมที่ไม่ถูกไม่ควรให้แก่เด็กและเยาวชน ซึ่งในการยกร่างกฎหมาย
นั้น ได้มีการว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อท าการศึกษาแนวคิดและเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศ เริ่มจากขั้นตอน
แรกที่ได้มีการจัดกลุ่มเป็น ๓ แบบ คือ
๑. การค้าประเวณีเป็นสิ่งต้องห้าม ผิดกฎหมาย
๒. การค้าประเวณีด้วยตัวเองสามารถท าได้ ไม่ผิดกฎหมาย ยกเว้นในบางลักษณะอาจเป็น
ความผิดได้ และ
๓. การค้าประเวณีทุกรูปแบบไม่มีความผิด เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่สามารถกระท าได้
โดยเห็นว่าแนวทางแบบที่ ๒ น่าจะมีความเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทยมากที่สุด
ั
ส่วนขั้นตอนของการรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีจากหน่วยงาน
ภาครัฐและภาคเอกชน ได้ข้อสรุปว่าไม่ควรก าหนดให้เรื่องการค้าประเวณีเป็นเรื่องเสรีเพราะเท่ากับว่า
การค้าประเวณีจะเป็นเรื่องที่ถูกกฎหมาย อย่างไรก็ตาม การปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวมีกระบวนการ
เพมเติมโดยเฉพาะต้องด าเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายว่า การบังคับใช้กฎหมายได้ผลตรงตาม
ิ่
วัตถุประสงค์ของการตรากฎหมายนั้นมากน้อยเพียงใด คุ้มค่ากับภาระที่เกิดขึ้นแก่รัฐและประชาชนหรือไม่
หรือมีผลกระทบอื่น อันก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ประชาชนหรือไม่ เพียงใด ซึ่งกระบวนการประเมินผล
สัมฤทธิ์ของกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี จึงต้องมีการวิเคราะห์อีกครั้งว่า
บริบทของสังคมไทยจะเป็นระบบของการลงทะเบียนหรือให้สิทธิกับผู้ค้าประเวณีโดยไม่ต้องลงทะเบียน
ซึ่งต้องพิจารณาต่อไปว่าหากไม่มีการลงทะเบียนจะไม่มีการรับรองและไม่สามารถควบคุมการค้าประเวณีได้
โดยจะต้องวิเคราะห์ผลดีผลเสียในเรื่องดังกล่าวตลอดจนการพจารณาเรื่องการเก็บข้อมูลของผู้ลงทะเบียน
ิ