Page 86 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 86

หน้า ๗๔                                                                              ส่วนที่ ๓



                           ๕. ข้อมูลสถิติความรุนแรงจากกระทรวงสาธารณสุขนั้น เป็นข้อมูลความรุนแรงที่เกิดต่อเด็ก

                                                                                                  ั
               และสตรี ที่ผู้กระท าความรุนแรงอาจจะไม่ใช่บุคคลในครอบครัว แต่ข้อมูลของกระทรวงพฒนาสังคม
               และความมั่นคงของมนุษย์ เป็นการจัดเก็บข้อมูลเฉพาะกรณีความรุนแรงในครอบครัว ดังนั้น ตัวเลข

               ที่ปรากฏจึงเป็นข้อมูลของผู้ถูกกระท าความรุนแรงและผู้กระท าความรุนแรงที่เป็นบุคคลในครอบครัว
               ซึ่งท าให้มีตัวเลขที่น้อยกว่าหน่วยงานอื่นที่เก็บข้อมูลในภาพรวม
                             ในส่วนของการจัดเก็บข้อมูลคดีที่มีลักษณะเป็น Battle Women Syndrome นั้น จากการ

               ส ารวจสารบบคดีแล้ว พบว่า ไม่ปรากฏข้อมูลของคดีในลักษณะดังกล่าว เนื่องจากเมื่อมีการสอบสวน
               ข้อเท็จจริงในคดีความรุนแรงในครอบครัว จะมีการบันทึกข้อมูลโดยอาศัยมูลเหตุแห่งคดีหรือสถานที่เกิดเหตุ

               เป็นหลัก ซึ่งจะเป็นการบันทึกว่าคดีนั้นเป็นความผิดฐานใดตามประมวลกฎหมายอาญา จึงท าให้ไม่พบ
               ข้อมูลของคดีในลักษณะดังกล่าวอยู่ในฐานข้อมูล
                                       ิ
                           เพอการการพจารณาของคณะกรรมาธิการน าไปสู่การปฏิบัติและได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม
                             ื่
               ได้ให้ข้อเสนอแนะต่อกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ดังต่อไปนี้
                           ๑. ควรมีการจัดเก็บข้อมูลคดีที่มีลักษณะเป็น Battle Women Syndrome โดยที่ประชุม

               เสนอให้มีการจัดเก็บข้อมูลจากหน่วยงานหรือองค์กรที่คาดหมายได้ว่ามีการจัดเก็บข้อมูลของคดีที่มีลักษณะ
               ดังกล่าว ได้แก่ ศาลอาญาธนบุรี ศาลจังหวัดธัญบุรี ชมรมพนักงานสอบสวนหญิง มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล
               มูลนิธิส่งเสริมความเสมอภาคของบุคคล มูลนิธิเพื่อนหญิง และมูลนิธิผู้หญิง

                             โดยที่ประชุมเสนอให้มีการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ Battle Women Syndrome
               เพื่อถ่ายทอดความรู้และสร้างความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งจะส่งผลให้การด าเนินการสอบสวน

               และส่งต่อการช่วยเหลือเป็นไปด้วยความถูกต้องและเหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อการจัดเก็บข้อมูลคดี
               ความรุนแรง

                             นอกจากนี้ ที่ประชุมได้ยกตัวอย่างการด าเนินการเจ้าหน้าที่ต ารวจในต่างประเทศ เช่น
               สิงคโปร์ และญี่ปุ่น ที่เมื่อได้รับแจ้งความ เจ้าหน้าที่จะท าการสอบสวนในเบื้องต้นและบันทึกข้อมูล
                                                                                             ื่
               การสอบสวนนั้น แล้วจะพิจารณาคัดกรองและส่งต่อข้อมูลไปยังภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพอด าเนินการต่อไป
               ซึ่งจะมีหลักเกณฑ์ก าหนดเงื่อนไขในการด าเนินการแต่ละขั้นตอนอย่างรัดกุม
                                                                                        ื่
                                        ิ่
                           ๒. ควรมีการเพมเจ้าหน้าที่ต าแหน่งนิติกรให้ประจ าหน่วยปฏิบัติการ เพอท าหน้าที่ในการศึกษา
               กฎหมายที่เกี่ยวข้องและให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการด าเนินงานของหน่วยปฏิบัติการ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะถูก
               ด าเนินคดีอันเนื่องมาจากปฏิบัติหน้าที่
                           ๓. ควรมีการจัดสวัสดิการสังคมและความคุ้มครองให้แก่อาสาสมัครที่ปฏิบัติงานในพนที่
                                                                                                         ื้
               เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่คนในสังคมในการอาสาเข้ามาปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังในชุมชนมากยิ่งขึ้น
                                    ิ่
                                                            ั
                           ๔. ควรเพมช่องทางการประชาสัมพนธ์ความรู้ความเข้าใจเรื่องความรุนแรงในครอบครัว
                                                                                       ื้
               ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่นต่างจังหวัดในบางพนที่ที่ประชาชนบางส่วน
                                                             ั
               ไม่ได้เล่นสื่อสังคมออนไลน์ ก็ควรใช้วิธีประชาสัมพนธ์โดยสอดแทรกการรับรู้เข้าไปในการด าเนินกิจวัตร
               ประจ าวันของคนในพื้นที่นั้น เช่น รถขายกับข้าว หรือรถแลกไข่ เป็นต้น

                           ๕. แนวทางการพฒนาครอบครัวให้เป็นสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง นอกจากการมีกฎหมาย
                                           ั
               ที่มีประสิทธิภาพแล้ว ควรให้ความส าคัญกับการปลูกฝังความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก ให้ทราบถึงบทบาทหน้าที่

               และความส าคัญของสถาบันครอบครัว รวมถึงการสร้างจิตส านึกเพอสร้างครอบครัวเข้มแข็งให้แก่คนในสังคม
                                                                        ื่
               อีกด้วย
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91