Page 137 - STRATEGIES FOR BUDDHISM PROPAGATION OF OVERSEAS DHAMMADUTA BHIKKHUS (PH.D.)
P. 137

๑๑๙





                                 สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ ได้กล่ำวว่ำ กลยุทธ์ หมำยถึง วิธีกำรส ำหรับยุทธศำสตร์ เพื่อไป
                                                     ๑๖
                       ตอบสนองต่อภำพใหญ่ที่ประเทศตั้งไว้
                                 วีแลนและฮังเกอร์ (Wheelen and Hunger) กล่ำวว่ำ กลยุทธ์ หมำยถึง แบบแผน
                       หรือรูปแบบ (Strategy is a Patern) เป็นเรื่องเกี่ยวกับแบบแผนด้ำนพฤติกรรมในกำรปฏิบัติงำนที่

                       เป็นไปอย่ำงต่อเนื่องในแต่ละช่วงเวลำ (Consistency in Behavior Overtime) อันสะท้อนให้เห็นใน

                       กำรวำงแผนงำนในอนำคต โดยต้องค ำนึงถึงวิวัฒนำกำรขององค์กำร และควำมสำมำรถควำมคำดหวัง
                       ของผู้ปฏิบัติด้วย เพรำะในหลำยกรณีเจตนำรมณ์หรือสิ่งที่ผู้บริหำรตั้งใจท ำ (Intended Strategies)

                       อำจเป็นไปไม่ได้ แต่ผู้ปฏิบัติอำจใช้ควำมช ำนำญด้ำนต่ำง ๆ ปรับกลยุทธ์ในระหว่ำงปฏิบัติ (Emergent
                                                                                         ๑๗
                       Strategies) จนแปรเปลี่ยนเป็นกลยุทธ์ที่เกิดขึ้นจริง (Realized Strategies) ก็ได้
                                 ไรท์ และคณะ (Wright and others) ได้กล่ำวถึงควำมหมำยของกลยุทธ์ว่ำ แผนของ

                                                                                                    ๑๘
                       ผู้บริหำรระดับสูงที่จะน ำไปสู่ผลลัพธ์ต่ำง ๆ ที่สอดคล้องกับภำรกิจและเป้ำประสงค์ขององค์กำร
                                 เซอโต และ ปีเตอร์ (Certo and Peter) ได้ให้ควำมหมำยของค ำว่ำกลยุทธ์ คือวิธีกำร

                                                                                ๑๙
                       ด ำเนินงำนที่คำดว่ำจะน ำไปสู่ควำมส ำเร็จตำมวัตถุประสงค์ขององค์กำร
                                 แฮคซ และ เมจัฟ (Hax และ Majuf) ได้กล่ำวถึงแนวคิดเกี่ยวกับควำมหมำยของ
                       กลยุทธ์ ตำมแนวคิดของนักกำรศึกษำหรือนักวิชำกำรอีกหลำยท่ำนในหนังสือ The Strategy

                       Concept and Process โดยน ำมำกล่ำวหลำกหลำยแนวคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์ ซึ่งเป็นของ Glueck
                       และ Mintzberg ทั้งสองคนได้ให้ควำมหมำยของกลยุทธ์ คือ รูปแบบกำรตัดสินใจที่มีเหตุผลชัดเจน

                       และรวมหลำยสิ่งหลำยอย่ำงเข้ำด้วยกันเป็นหนึ่งเดียว ในมุมมองนี้กลยุทธ์จึงเปรียบเหมือนแผนกำร

                       ด ำเนินงำนที่ส ำคัญที่จะน ำไปสู่กำรบรรลุวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยขององค์กำร
                                                                                       ๒๐
                                 มินทซเบิก (Mintzberg) ได้กล่ำวถึงควำมหมำยกลยุทธ์ไว้ในหลัก 5Ps หรือ อักษร P ห้ำ

                       ตัว แทนควำมหมำยต่ำง ๆ ของกลยุทธ์ดังนี้





                                 ๑๖  สมชำย ภคภำสน์วิวัฒน์, การบริหารเชิงกลยุทธ์, พิมพ์ครั้งที่ ๕, (กรุงเทพมหำนคร: ส ำนักพิมพ์

                       อมรินทร์, ๒๕๔๓), หน้ำ ๖.
                                 ๑๗   Wheelen,  Thomas  L.and  David  J.Hunger,  Strategic  Management  and  Business
                               th
                       Policy, 8   ed, (New Jersey: Prentice-Hall, 2002), p. 9.
                                 ๑๘  Wright, P., Reingle, C.D. and Kroll, M.J. Strategic Management: Text and Case,

                       (Massachusetts: Alyn and Bacon, 1992), p. 15.
                                 ๑๙   Certo,  S.c.  and  Peter,  J.P.  Strategic  Management:  Concept  and  Application,
                       (Singapore: McGraw-Hill, 1991), p.17.

                                                                                   th
                                 ๒๐  Hax, A.C. and Majuf, N.S. The Strategic Management. 5  ed, (Florida: The Dryden
                       Press, 1993), pp. 2-6.
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142