Page 101 - curriculum-rangsit
P. 101

98                                                                                 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   99
                                                                                          “นครรังสิต“





 ๒. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม     สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์


                     ๑. ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานของจังหวัดปทุมธานี  หลักฐานชั้นรอง  เช่น  จดหมายเหตุวรรณกรรมในสมัย
   สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม  กรุงศรีอยุธยาตอนต้น (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) วรรณกรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๕๒ - ๒๓๙๔) สภาวัฒนธรรม

            จังหวัดปทุมธานี
      ๑. บุคคลที่มีผลงานดีเด่นทางด้านศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ได้แก่ หลวงปู่เทียน หลวงปู่ช้าง วัดเขียนเขต        ๒. การก่อตั้งเมืองปทุมธานี  ความสัมพันธ์และความส�าคัญของอดีตเมืองปทุมธานีที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต
 นายหวังดี นิมา นายวีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย  นายพงศ์สุข นันทพัฒน์ปรีชา  การเทียบศักราชต่าง ๆ ในช่วงเวลาการก่อตั้งเมืองปทุมธานี หลักฐานชั้นรอง เช่นจดหมายเหตุฯ วรรณกรรมในสมัย

        ๒. การด�าเนินชีวิตประจ�าวัน  วิถีชีวิตของคนในชุมชนรังสิตทั้งศาสนาพุทธ  คริสต์  อิสลาม  เช่น  การสวดมนต์    สุโขทัย ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐ ทั้งหลักฐานชั้นต้น ศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นปทุมธานี (สมัยก่อน
 การท�าบุญตักบาตร การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา ได้แก่ มัสยิดแก้วนิมิต และคริสตจักรวิสุทธวงศ์ ศาลเจ้า  ประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์) และเหตุการณ์ส�าคัญ โครงงาน

      ๓. การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อ ศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนาอื่นๆ ประเพณีชาวมอญที่  ทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความเป็นมาของนครรังสิต การพัฒนาพื้นที่เมืองรังสิต การรับวัฒนธรรมจากประเทศ
 เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา เช่น ประเพณีแห่หงส์-ธงตะขาบ ประเพณีแข่งลูกหนู พุทธศาสนิกชนตัวอย่างในจังหวัด  เพื่อนบ้าน เช่น อารยธรรมชาติตะวันตก คลองรังสิตประยูรศักดิ์

 ปทุมธานี เช่น ท่านพระครูสุนทโรเป็นผู้สร้างวัดเจดีย์หอย พระเจ้าวรวงศ์เธอเจ้าสายสนิทวงศ์ (ผู้บริจาคที่ดินสร้างวัด       ๓. เทศบาลนครรังสิตเดิมนั้นคือเทศบาลต�าบลประชาธิปัตย์ โดยเทศบาลต�าบลประชาธิปัตย์ ยกฐานะ มาจาก
 เขียนเขต)    สุขาภิบาลเมื่อ  พ.ศ.๒๕๓๗  ตามพระราชกิจจานุเบกษา  เล่มที่  ๑๑๑  ตอนที่  ๔๙  ลงวันที่  ๒  พฤศจิกายน  ๒๕๓๗

      ๔. ศาสนาพุทธในปทุมธานี ของชาวมอญ การเข้าร่วมกิจกรรมและพิธีกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันส�าคัญทาง  มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๓๗ เป็นต้นมา มีเขตปกครองครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของต�าบลประชาธิปัตย์
 พุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย และเข้ามาเผยแผ่ศาสนาในปทุมธานี ความเชื่อและหลักค�าสอน   จ�านวน  ๖  หมู่บ้าน  ซึ่งต�าบลประชาธิปัตย์นั้นเดิมชื่อ  ต�าบลบึงทะเลสาบ  ขึ้นอยู่กับการปกครองของเมืองธัญญบุรี

 ของคนในชุมชนรังสิต การท�าบุญตักบาตร เช่น ตักบาตรพระร้อย การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย    (เมืองธัญญบุรี จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๔๔๕) ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้ยุบเป็นอ�าเภอธัญบุรีขึ้นกับจังหวัด
 และเข้ามาเผยแผ่ศาสนาในปทุมธานี ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ มีการประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการด�าเนินชีวิต แตกต่าง   ปทุมธานี ในส่วนของการเปลี่ยนชื่อจากต�าบลบึงทะเลสาบเป็น ต�าบลประชาธิปัตย์นั้นยังหาหลักฐานไม่พบ แต่จากการ

 กันตามหลักความเชื่อและค�าสอน ของศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม พระพุทธศาสนา  ตรวจสอบหลักฐาน การออกโฉนดที่ดินจากส�านักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานี (สาขาธัญบุรี) การออกโฉนดครั้งแรกตั้งแต่
      ๕. ศาสนสถานส�าคัญใน  จังหวัดปทุมธานี  เช่น  วัดสามสิงห์  วัดเจดีย์หอย  วัดโบสถ์  วัดชินวรารามวรวิหาร   รัตนโกสินทร์ศก  ๑๒๑  เป็นต้นมา  ใช้ชื่อต�าบลว่าบึงทะเลสาบ  ตลอดมาจนถึงปี  พ.ศ.  ๒๔๙๙  ออกโฉนด  ใช้ชื่อ

 วัดหงษ์ปทุมาวาส วัดมูลจินดารามฯ ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ ในปทุมธานี คือ ปางมารศรีวิชัยของ  ต�าบลว่า ประชาธิปัตย์ และ ต่อมาในภายหลังเมื่อเทศบาลต�าบลประชาธิปัตย์มีความเจริญเติบโตในด้านต่างๆ มากขึ้น
 หลวงพ่อโตและหลวงพ่อเพชรวัดสิงห์
            ทั้งด้านเศรษฐกิจ  สังคม  การเมือง  จึงได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองและเปลี่ยนชื่อเป็น  รังสิต  เพื่อให้ตรงกับชื่อ

            ที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปไม่เกิดความสับสนในการติดต่อราชการ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น
   สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด�าเนินชีวิตในสังคม
            โดยเทศบาลเมืองรังสิตได้รับการจัดตั้งและเปลี่ยนชื่อตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองรังสิต พ.ศ.๒๕๔๖

      ๑. วัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น การแต่งกายของชาวมอญ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ข้าวแช่ชาวมอญ  เครื่องปั้นดินเผา  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา  เล่ม  ๑๒๐  ตอนที่  ๓๖  ก  ลงวันที่  ๑  พฤษภาคม  ๒๕๔๖  มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่

      ๒. การประสานงานความร่วมมือระหว่างเทศบาลนครรังสิตกับประเทศต่าง ๆ ความแตกต่างทางสังคม วัฒนธรรม    ๒  พฤษภาคม  ๒๕๔๖  ต่อมาเทศบาลเมืองรังสิตได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลนครรังสิต  ตามประกาศ
 ของแต่ละชุมชนในจังหวัดปทุมธานี การด�าเนินชีวิตในสังคมของชาวจังหวัดปทุมธานี  กระทรวงมหาดไทยเรื่องเปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาลเมืองรังสิต  อ�าเภอธัญบุรี  จังหวัดปทุมธานีเป็นเทศบาลนครรังสิต
            ลงวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔  มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๒๙ เมษายน  พ.ศ. ๒๕๕๔

   สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
              สาระที่ ๕ ประวัติศาสตร์
      ๑. สินค้าท้องถิ่นของจังหวัดปทุมธานี เช่น เครื่องปั้นดินเผา เครื่องถ้วยจีนสามโคก ตุ่มสามโคก การต่อเรือ
 เ ครื่องจักรสาน  ข้าวแช่ชาวมอญ  ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตสินค้าในจังหวัดปทุมธานี  ตัวอย่างสินค้าท้องถิ่นจังหวัด        ๑. ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพ (ภูมิลักษณ์และภูมิอากาศ) และลักษณะทางสังคม (ภูมิสังคม)

 ปทุมธานีชุมชนหรือบุคคลในจังหวัดปทุมธานีที่น�าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ เช่น ชุมชนพอเพียง   ในจังหวัดปทุมธานี
 บ้านงิ้ว เทคโนโลยีในการผลิตสินค้าและบริการได้แก่ ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์             ๒. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของจังหวัดปทุมธานี เช่น อุทกภัย

      ๒. ปัญหาสิ่งแวดล้อม คุณภาพน�้าขยะมูลฝอย คุณภาพอากาศและเสียง ปัญหาด้านแรงงานปัญหาขยะมูลฝอย    ภัยแล้ง
 ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน รูปแบบการบริหารจัดการเทศบาลนครรังสิต
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106