Page 174 - curriculum-rangsit
P. 174

172                                                                                                                                                                                                 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   173
                                                                                                                                                                                                                 “นครรังสิต“





                     การก�าหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น เพื่อให้สถานศึกษาน�าไปใช้จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้                   ส่วนที่ ๑ ประกอบด้วย รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นปี จ�านวนชั่วโมง หรือหน่วยกิต
            เกี่ยวกับท้องถิ่นของตนเอง ทั้งในด้านภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง บุคคลส�าคัญ ศิลปวัฒนธรรม                     ส่วนที่ ๒ เนื้อหาซึ่งประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยมีแนว

            แหล่งท่องเที่ยว และอาชีพส�าคัญ ฯลฯ ตลอดจนสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมนั้นๆ มีข้อเสนอแนะ แนวทาง วิธีการ                     การเขียนที่ส�าคัญ ดังนี้
            และในการน�ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นสู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาสามารถด�าเนินการได้ ๓ ประการ ดังนี้                             ๑. ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง

                     ๑.  การน�าเป้าหมายและจุดเน้นไปใช้ในการก�าหนดวิสัยทัศน์                                                                 ๒. ผู้เรียนสามารถท�าอะไรได้บ้าง
                                                                                                                                            ๓. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อะไรบ้าง ตามหลักสูตรแกนกลาง ฯ และตามธรรมชาติของวิชา
                     ๒. การน�าสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นไปใช้ในจัดท�าหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดกิจกรรม                                        ส่วนที่ ๓  ระบุผลการเรียนรู้ทั้งหมดในรายวิชานั้น
                       การเรียนรู้ สามารถด�าเนินการได้ในลักษณะดังนี้
                                                                                                                                            ตัวอย่างค�าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม  “นครรังสิตศึกษา”  ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้  ๗  หน่วย  คือ

                       ๒.๑  สอดแทรกในรายวิชาพื้นฐาน ที่มีตัวชี้วัดบ่งบอกถึงความเป็นท้องถิ่น โดยปรับกิจกรรมการเรียนการ              ๑) ภูมิศาสตร์นครรังสิต  ๒) ย้อนอดีตนครรังสิต ๓) เรียนรู้การเมืองการปกครอง ๔) บุคคลส�าคัญ ๕) รักษ์ศิลปวัฒนธรรม
            สอน ปรับเนื้อหา ปรับ/เลือกใช้สื่อการเรียนรู้ บูรณาการในรายวิชาต่างๆ ทั้งนี้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้   ครูผู้สอน      ๖) งามตระการแหล่งท่องเที่ยว และ ๗) อาชีพส�าคัญในนครรังสิต
            อาจเชิญวิทยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือน�านักเรียนออกไปเรียนรู้สภาพจริงในท้องถิ่นก็จะท�าให้                การเรียนรู้มีความหมาย

            ต่อผู้เรียนมากยิ่งขึ้น                                                                                                          ตัวอย่างค�าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

                       ๒.๒  จัดท�าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ผสถานศึกษาอาจจัดท�ารายวิชาที่เป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐานหรือรายวิชา                      รหัสวิชา ส๒๑๒๐๑ นครรังสิตของเรา   กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม
            ที่เป็นสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมก็ได้ ในการจัดท�าครูผู้สอนอาจปรับปรุงพัฒนารายวิชาที่มีอยู่เดิมหรือจัดเป็นรายวิชาใหม่             ชั้นมัธยมศึกษาปึที่ ๑              เวลา ๒๐ ชั่วโมง  จ�านวน ๐.๕ หน่วยกิต
            เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับชั้นนั้นๆ แนวทาง การจัดท�า

            รายวิชาเพิ่มเติมมีดังนี้
                                                                                                                                            ศึกษาประวัติความเป็นมาของนครรังสิตที่ตนอาศัยอยู่และบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ ในเรื่องภูมิศาสตร์

                       ๑) การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้สู่ค�าอธิบายรายวิชา                                                             ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง บุคคลส�าคัญ ศิลปวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยว และอาชีพส�าคัญ
                       ในการจัดท�ารายวิชาเพิ่มเติม  จะต้องมีการก�าหนดผลการเรียนรู้ขึ้นเอง  เพื่อน�าไปจัดการเรียนรู้ให้แก่                   โดยกระบวนการสร้างองค์ความรู้ ด้วยการสืบค้น รวบรวม ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ในนครรังสิต กระบวนการ

            ผู้เรียนในรายวิชาเพิ่มเติมที่โรงเรียนก�าหนดขึ้นตามจุดเน้น ความต้องการของโรงเรียน หรือท้องถิ่น ซึ่งผลการเรียนรู้        ปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา
            คือ สิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้ และต้องปฏิบัติได้ เช่นเดียวกันกับการก�าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด โดยจ�าแนกเป็นความรู้        เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจนครรังสิตน  มีความรักและภาคภูมิใจ  ผูกพันกับท้องถิ่น  ร่วมมือกันอนุรักษ์

            ที่ผู้เรียนจะต้องรู้  พฤติกรรมหรือทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องปฏิบัติได้  รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่          สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในนครรังสิต มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ
            ต้องการให้เกิดในตัวผู้เรียน แนวการก�าหนดผลการเรียนรู้สามารถด�าเนินการได้ ๒ ลักษณะ ดังนี้

                       ลักษณะที่ ๑ ก�าหนดผลการเรียนรู้จากการวิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้                ผลการเรียนรู้
            ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในมาตรฐานการเรียนรู้                    ๑.  เข้าใจสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยว และอาชีพส�าคัญของนครรังสิต

                       ลักษณะที่ ๒ ก�าหนดผลการเรียนรู้ขึ้นใหม่ โดยไม่อิงสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ เมื่อก�าหนดผล                             ๒.  สืบค้นความเป็นมา การเมืองการปกครองของของนครรังสิต โดยใช้หลักฐานแหล่งข้อมูลในท้องถิ่น
            การเรียนรู้แล้ว จากนั้นท�าการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้แต่ละข้อจ�าแนกเป็นความรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ พฤติกรรม หรือ               ๓.  วิเคราะห์ประวัติและผลงานบุคคลส�าคัญของของนครรังสิต

            ทักษะ/กระบวนการที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวของผู้เรียน                         ๔.  วิเคราะห์ความส�าคัญของขนบธรรมเนียม ศิลปวัฒนธรรมของนครรังสิต
                                                                                                                                            ๕.  มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมในนครรังสิตของตน
                       ๒)  การเขียนค�าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม                                                                                  รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรียนรู้
                       ค�าอธิบายรายวิชา  เป็นองค์ความรู้  ทักษะ/กระบวนการ  และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ส�าคัญ  เพื่อ

            น�าไปสู่การจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน  มีลักษณะเป็นความเรียงที่ประกอบด้วยองค์ความรู้  ทักษะ/กระบวนการ  และ                      ๓)  การก�าหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
            คุณลักษณะอันพึงประสงค์  ค�าอธิบายรายวิชาของรายวิชาเพิ่มเติม ให้วิเคราะห์จากผลการเรียนรู้ที่สถานศึกษาก�าหนดขึ้น                    โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมเป็นการก�าหนดกรอบขอบข่ายของ รายวิชาเพิ่มเติมที่จะจัดการเรียนรู้ให้แก่

            ค�าอธิบายรายวิชาเขียนเป็นรายปีส�าหรับระดับประถมศึกษา และเป็นรายภาคเรียนส�าหรับระดับมัธยมศึกษาการจัดท�า                 ผู้เรียน เพื่อช่วยให้เห็นภาพรวมของรายวิชา การจัดท�าโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมจะช่วยให้ครูผู้สอนเห็นความ สอดคล้อง
            ค�าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ซึ่งองค์ประกอบส�าคัญของค�าอธิบายรายวิชา จ�าแนกได้ ๓ ส่วน ดังนี้                              เชื่อมโยงของล�าดับการเรียนรู้ และภาพรวมของรายวิชานั้นอย่างชัดเจน โครงสร้างรายวิชา ประกอบด้วย
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179