Page 178 - curriculum-rangsit
P. 178

176                                                                                                                                                                                                 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   177
                                                                                                                                                                                                                 “นครรังสิต“





                       ๔)  การออกแบบหน่วยการเรียนรู้                                                                                            ๓.๒  ระดับสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังนี้
                       เมื่อได้ก�าหนดโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมเรียบร้อยแล้ว จากนั้นครูผู้สอนจะต้องน�าข้อมูล แต่ละหน่วย                            ๑)  แต่งตั้งคณะกรรมการวัดและประเมินผล คณะอนุกรรมการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ทาง

            การเรียนรู้ไปออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  ๒๕๕๑                                      การเรียน คณะอนุกรรมการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คณะกรรรมการวัด

            ที่ก�าหนดให้ครูผู้สอนด�าเนินการออกแบบหน่วยการเรียนรู้                                                                                     และประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ คณะอนุกรรมการวัดและประเมินกิจกรรม

                         ๒.๓ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนา                                   พัฒนาผู้เรียน ทั้งนี้ อาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการวัดและประเมินสมรรถนะส�าคัญของผู้เรียนอีก
            อย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม                              คณะหนึ่งก็ได้

            จริยธรรม  มีระเบียบวินัย  ปลูกฝังและสร้างจิตส�านึกของการท�าประโยชน์เพื่อสังคม  สามารถจัดการตนเองได้  และ                              ๒)  ก�าหน ดขั้นตอนการสร้างวิธีวัด  เครื่องมือวัด  เกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
            อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ในแต่ละกิจกรรมให้ระบุแนวการจัดกิจกรรม เวลาการจัดกิจกรรม และแนวทางการ                                     มาตรฐาน / ตัวชี้วัด การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

            ประเมินกิจกรรมที่โรงเรียนก�าหนดรายละเอียดดังนี้                                                                                           คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และสมรรถนะส�าคัญของผู้เรียน

                           ๑)  แนวการกิจกรรมสาระส�าคัญของกิจกรรมที่ต้องการให้ผู้เรียนจะได้รับจากการจัดกิจกรรมการ                                  ๓)  ก�าหนดเกณฑ์การวัดประเมินผลการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตาม
                               เรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้                                                                                       ภารกิจของโรงเรียน ได้แก่ การตัดสินผลการเรียน การให้ระดับผลการเรียน การเลื่อนชั้น

                           ๒)  เวลาเรียน  ก�าหนดจากรายการจัดกิจกรรมเป็นหลักส�าคัญ  แยกจ�านวนชั่วโมงตามความส�าคัญ                                      การเรียนซ�้าชั้น การสอนซ่อมเสริมและการเปลี่ยนผลการเรียน การจบระดับชั้น เป็นต้น

                               ของสาระในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ซึ่งอาจมีความส�าคัญไม่เท่ากัน
                           ๓)  แนวทางการประเมินกิจกรรม ก�าหนดแนวทางการประเมินกิจกรรมที่โรงเรียนก�าหนด



                     ๓. การน�าแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่นไปสู่การก�าหนดการวัดและ
                       ประเมินผล การเรียนรู้ระดับชั้นเรียนและสถานศึกษา มีดังนี้


                         ๓.๑   ระดับชั้นเรียน มีแนวปฏิบัติ ดังนี้


                           ๑)  ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
                           ๒)  วิ เคราะห์  ตัวชี้วัด  ผลการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

                               ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามหลักสูตรสถานศึกษา
                           ๓)  จัดท�าเครื่องมือวัด เกณฑ์การวัด ตามระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล

                               ของสถานศึกษา
                           ๔)  ใช้วิธีวัด  เครื่องมือวัด  และประเมินให้สอดคล้องและครอบคลุมกับตัวบ่งชี้ด้านความรู้  ทักษะ

                               และเจตคติ
                           ๕)  ก�าห นดเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจน  มีความเป็นไปได้และเหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน

                               โดยเฉพาะการก�าหนดระดับคุณภาพ ( Rubrics )
                           ๖)  วัดและประเมินผล ควบคู่ไปกับการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง

                           ๗)  ให้มีผู้ประเมินหลายฝ่ายโดยสอดคล้องกับสถานการณ์และตัวชี้วัด ได้แก่ นักเรียน เพื่อนนักเรียน
                               ครู ผู้ปกครอง ชุมชน เป็นต้น

                           ๘)  จัดให้มีการน�าผลการประเมินมาวิเคราะห์และซ่อมเสริมผู้เรียน
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183