Page 16 - นครรังสิตของเรา
P. 16

ไหลคดเคี้ยวผ่านทุ่งหลวงลงสู่แม่น�้าเจ้าพระยาใต้เกาะใหญ่ ราชคราม (Radjal  Kram)     “ทุ่งหลวง” เป็นเขตที่ขึ้นอยู่กับกรุงเทพมหานคร สภาพเดิมเป็นป่าละเมาะ
 ล�าคลองนี้ในอดีตจึงมีความส�าคัญต่อทุ่งหลวงเป็นอันมาก ปัจจุบันมีชื่อเรียกว่า  พงหญ้า  พงแขมรกร้างยังไม่มีแม่น�้าและล�าคลอง มีเพียงหนองบึง ชะรอยพื้นที่นี้อาจ

 “คลองเชียงราก” เป็นล�าคลองที่ช้างลากซุงจากป่าไม้บนภูเขาสู่ล�าคลองจัดแพล่อง จะเปลี่ยนสภาพจากป่าบึงน�้าท่วมมาก่อนเพราะจากเอกสารหลักฐานทางธรณีวิทยาพบ
 มาออกแม่น�้าเจ้าพระยา จากการส�ารวจชุมชนเดิมของบ้านบางในคลองเชียงรากเรียก ว่าในสมัยโบราณพื้นที่อ่าวไทยอยู่ลึกขึ้นไปจนถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน ทุ่งรังสิต
 ว่า “บ้านปากอาด” และมีวัดร้างริมคลองสมัยอยุธยา อยู่ท่ามกลางดงไม้มีชื่อเรียกว่า  สมัยนั้นยังเป็นทะเล อยู่เมื่อลึกตื้นเขินขึ้นมาจากดินตะกอนที่ถูกพัดมาตามแม่น�้าและ

 “วัดบางอ้าย”  ล�าน�้าเจ้าพระยาเดิมก่อนมีการขุดคลองลัดเตร็ดใหญ่ (Ban tret yai)  เกิดสันดอนขึ้นที่ปากอ่าวท�าให้ผืนดินภายในตื้นเขิน เมื่อมีน�้าฝนตกลงมาขังเป็นแอ่ง
 ที่สามโคกในสมัยพระเจ้าอยู่หัวทรงธรรมแห่งกรุงศรีอยุธยาก็มีส่วนอ้อมคดโค้งเข้าสู่ นานเข้าท�าให้น�้าจืด ผืนดินตื้นเขินขึ้นเรื่อยๆ แต่สูงกว่าระดับน�้าทะเลไม่มากนัก

 ทุ่งหลวง ทางด้านทิศตะวันออก  ทุ่งหลวงจึงมีพื้นที่เป็นที่ราบต�่าสลับกับทุ่งหญ้าและ เกิดเป็นที่ราบลุ่มต�่ามีน�้าขังเป็นหย่อมๆ และน�้าท่วมเมื่อหลากมาจากด้านทิศเหนือ
 หนองบึงในส่วนแนวล�าคลองและชายฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาทางด้านตะวันออกจะ ช่วงปลายฤดูฝนมีพันธุ์พืชรุกล�้าเจริญเติบโตทดแทนกันตามล�าดับจนเป็นป่าบึงน�้าท่วม
 หนาแน่นไปด้วยป่าละเมาะและป่าไผ่ (วีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย, 2556: 87)   ในที่สุด จากความรกเรื้อของพื้นดินที่ร้างผู้คนมาตั้งหลักปักฐาน  ทุ่งหลวงในสมัยก่อน  ภาพที่ 4 สมัน

 จึงมีสัตว์ป่านานาชนิดชุกชุม ทั้งสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ประจ�า ได้แก่ เนื้อสมัน และ
 เนื้อทราย ยังมีสัตว์ป่าลงมาจากเขาใหญ่ในเขตจังหวัดสระบุรีและนครนายกมาหากิน                               ภาพที่ 6 พรานล่าเนื้อสมัน

 ในทุ่ง เช่น ช้าง กระทิง  เก้ง  กวาง เสือโคร่ง เป็นต้น                                      โดยวิธีเอาเขาสมันผูกหรือสวมกับศีรษะแล้วไปล่อให้สมันเข้ามาหา
    สมันมีชุกชุมมากตามทุ่งที่ราบต�่าโดยเฉพาะ “ทุ่งหลวง” อยู่ปนกับเนื้อทราย                          ที่มา: วีระวัฒน์  วงศ์ศุปไทย, 2556:90.
 เพราะว่าเขาของสมันยาวและงอนงามมาก รูปร่างของสมันมีขนาดความสูง 3-4 ฟุต

 ขนยาวเส้นหยาบ ขนสีน�้าตาลทั่วตัวไม่มีจุดเลย มีสีค่อนข้างด�าบนสันจมูก และช่วงบน         2. ยุคบุกเบิก (พ.ศ.2430-2475)
 หางค่อนข้างจางที่แก้ม ที่ใต้ท้อง ที่ใต้คางและใต้หาง (วีรวัฒน์  วงศ์ศุปไทย, 2556: 88)      ทุ่งหลวงเริ่มพัฒนาขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

 หลังจากการขุดคลองบริเวณทุ่งหลวง สมันหนีน�้าท่วมติดเกาะได้ถูกชาวบ้านขี่ควายไล่   ตามโครงการเพิ่มพื้นที่ท�านา เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวส�าหรับส่งออกตามข้อก�าหนดสนธิ
 ล่าและแทงเอาอย่างง่ายดาย และพรานล่าเนื้อสมันใช้วิธีเอาเขาสมันผูกหรือสวมกับ      สัญญาเบาว์ริ่งที่ไทยท�ากับอังกฤษ
 ศีรษะ แล้วไปล่อให้สมันเข้ามาหาเพื่อจับสมัน ท�าให้สมันสูญพันธุ์ไป                       ยุคนี้เริ่มตั้งแต่มีสัมปทานขุดคลองขยายบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามใน ปี พ.ศ.

                                                                                 2431 มีผลตามมาให้เกิดการบุกเบิกที่ดินขนาดใหญ่ จากสภาพทุ่งและป่าสู่นาข้าวอัน
                                                                                 กว้างใหญ่ไพศาล ทั้งนี้เพื่อเป็นการตอบสนองต่อเศรษฐกิจการค้าข้าวที่ได้ขยายตัวขึ้น
                           ภาพที่ 5  สมันหนีน�้าท่วมขึ้นไปอยู่บนที่ดอน

 ภาพที่ 3 คลองเชียงราก ทุ่งหลวงรังสิต  ชาวบ้านพากันขี่ควายไปไล่ตีและแทงเอาอย่างง่ายดาย  อย่างกว้างขวางภายหลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง ในปลายทศวรรษ 2390  การพัฒนารังสิต
 ที่มา: วีระวัฒน์  วงศ์ศุปไทย, 2556: 88.  ที่มา: วีระวัฒน์  วงศ์ศุปไทย, 2556: 89.  ได้มาถึงจุดสูงสุดเมื่อมีการพัฒนาระบบชลประทานโดยรัฐ ตามโครงการป่าสักใต้

 12  นครรังสิตของเรา                                                                                                               นครรังสิตของเรา     13
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21