Page 17 - นครรังสิตของเรา
P. 17

เป็นผลส�าเร็จในทศวรรษ  2470 ซึ่งท�าให้การผลิตและการค้าข้าวในเขตนี้ด�าเนินไปได้ พระองค์เจ้าสายจึงได้ทรงคิดที่จะขุดคลอง ในที่สุดก็ได้น�าความขึ้นกราบบังคมทูลขอ       พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์  ทรงเข้าไปบุกเบิกการขุดคลองด้วย      บริษัทได้รับอนุญาตการขุดคลองสายแรกตามหนังสืออนุญาตขุดคลอง
                    อย่างมั่นคง (สุนทรี  อาสะไวย์, 2538: 8)                                พระบรมราชานุญาตขุดคลองในพระราชอาณาเขตในนามของบริษัทขุดคลองแลคูนา                     พระองค์เอง  ด้วยเหตุนี้คลองสายแรกที่ขุด  คือ คลองรังสิตประยูรศักดิ์  จึงมีชื่ออีก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2433 โดยเริ่มขุดที่ต�าบลบ้านใหม่ ได้เกาะใหญ่
                           การตั้งถิ่นฐานในเขตทุ่งรังสิตก่อนการขุดคลองรังสิตมีอยู่อย่างเบาบาง การตั้ง สยาม (เทียมจันทร์   อ�่าแหวว, 2556 : 44-45)                               ชื่อหนึ่งที่เรียกโดยชาวบ้านว่า “คลองเจ้าสาย” นอกเหนือจากที่เรียกว่า “คลองแปดวา”  แขวงเมืองปทุมธานี ฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยา ไปออกแม่น�้านครนายก ขนาดคลอง

                    ถิ่นฐานอย่างเป็นกลุ่มก้อน น่าจะอยู่เฉพาะบริเวณที่มี “คลอง” หรือ “บาง” ซึ่งเป็น     บริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม (Siam Lands, Canaland lrrigation                 ซึ่งเป็นการเรียกตามขนาดของคลอง ในระยะเวลาต่อมาเมื่อกิจการขุดคลองได้ขยายตัว กว้าง  6 วา ลึก 6 ศอก ยาว 1,400 เส้น เมื่อลงมือขุดคลองสายนี้ พระบาทสมเด็จ
                    กลุ่มลักษณะภูมิประเทศที่เชื่อมต่อจากแม่น�้า และสามารถชักน�้าเข้ามาถึงพื้นที่ท�าการ Company)  ได้ถือก�าเนิดในปี  พ.ศ. 2431 โดยการรวมหุ้นของกลุ่มเจ้านาย ขุนนาง  ออกไปประกอบกับที่พระองค์เจ้าสายเริ่มประชวรเรื้อรัง   ม.ร.ว.สุวพรรณธ์  สนิทวงศ์  พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ คลอง
                    เพาะปลูก  หรือเพื่อเป็นเส้นทางเข้าไปตั้งบ้านเรือนซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลจาก  และนักธุรกิจชาวตะวันตก ประกอบด้วยพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์     ในฐานะผู้อ�านวยการบริษัทและพระปฏิบัติราชประสงค์ในฐานะผู้จัดการบริษัทได้มา นี้ว่า “คลองรังสิต (รังสฤษดิ์) ประยูรศักดิ์” เฉลิมพระเกียรติแด่พระเจ้าลูกเธอ

                    แม่น�้าล�าคลองคงจะมีการตั้งถิ่นฐานอยู่อย่างกระจัดกระจาย พระยาอนุมานราชธนได้  พระนานาพิธภาษี  (ชื่น  บุนนาค) นายโยคิม  แกรซี (Joachin Grassi) และเจ้าสัว     ดูแลการขุดคลอง (สุนทรี อาสะไวย์, 2538: 12)                              พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ ในเจ้าจอมมารดา ม.ร.ว. เนื่อง สนิทวงศ์ พระธิดา
                    กล่าวถึง สภาพการตั้งบ้านเรือนในเขตทุ่งรังสิต ก่อนการขุดคลองไว้ว่า      ยมพิศลยบุตรหรือหลวงสาธรราชายุตก์  ต่อมาในปี พ.ศ. 2435 ได้มีการเปลี่ยนแปลง                                                                                    ในพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ (ต่อมาได้ทรงกรมเป็นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรม
                           “อย่างบ้านเรือนแถวทุ่งรังสิต ซึ่งเป็นทุ่งเวิ้งว้างกว้างใหญ่เห็นลิบลิ่ว สุดสายตา  หุ้นส่วนอีกครั้งหนึ่ง โดยมีนายเออร์วิน มูลเลอร์ (Erwin Muller) หรือ พระปฏิบัติ                                                              พระยาชัยนาทนเรนทร) และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกเธอพระองค์
                    มีหมู่ไม้ขึ้นขัดจังหวะอยู่กระจัดกระจายกันไปเป็นหย่อมๆ คล้ายเป็นเกาะเป็นดอน  ราชประสงค์ นายฮันส์ เมศเลอร์ (Han Metzler)  และ ม.ร.ว.สุวพรรณธ์  สนิทวงศ์
                    อยู่กลางน�้า ที่ตรงหมู่ไม้มีถมดินเป็นโคกเพื่อหนีน�้าท่วมในฤดูหน้าน�้าแล้วสร้างบ้าน  บุตรคนโตในพระองค์เจ้าสายเข้ามาแทนหุ้นเดิม  3  คน คือ เข้ามาแทนพระนานาพิธภาษี                                                                    เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ เสด็จไปท�าพิธีในที่นั้นด้วย  (สุนทรีย์  อาสะไวย์, 2556: 5)

                    ปลูกเรือนอยู่กันเป็นหย่อมๆ เมื่อครั้งไม่ได้ขุดคลองเข้าไปนี่ก็เห็นจะเรียกว่าหมู่บ้าน
                    กระจาย (Scatter village) ได้อีกเหมือนกัน….” (อนุมานราชธน, พระยา, 2515: 307)  นายโยคิม แกรซี  และเจ้าสัวยม  (สุนทรี  อาสะไวย์, 2538: 11-12)
                           การด�าเนินงานเพื่อขอพระบรมราชานุญาตขุดคลองตามโครงการรังสิตนั้น

                    ผู้ริเริ่มงาน คือ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์  ทั้งนี้เนื่องจากพระบาทสมเด็จ
                    พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชด�ารัสกับพระองค์เจ้าสายมาแต่ก่อนว่า
                    “ในพระราชอาณาเขตนี้ คลองเป็นสิ่งส�าคัญ ในปีหนึ่งควรให้ได้มีคลองขึ้นสายหนึ่ง
                    จะท�าให้บ้านเมืองเจริญ ถึงจะออกพระราชทรัพย์ปีละพันชั่งหรือสองพันชั่ง ก็ไม่
                    เสียดาย” พระองค์เจ้าสายจึงปรารถนาจะกระท�าการสนองพระราชด�ารินั้น ประกอบ

                    กับที่ทรงคุ้นเคยกับนายแกรซี ซึ่งมีความรู้ในด้านการขุดคลองอยู่เนื่องจากเป็นสถาปนิก
                    ได้เคยทรงปรึกษากับนายแกรซีถึงการที่จะปรับปรุงและพัฒนาทรัพยากรของประเทศ
                    และนายแกรซีได้ทูลแนะน�าว่าควรท�าในลักษณะของงานชลประทานในกลุ่มแม่น�้า

                    ทั้งสี่ คือ บริเวณที่ราบภาคกลาง ซึ่งได้แก่ กลุ่มลุ่มแม่น�้าแม่กลอง ท่าจีน เจ้าพระยา                                                                                                         ภาพที่ 9                                                               ภาพที่ 10
                    และบางปะกง  ซึ่งเป็นบริเวณที่ใช้ในการเพาะปลูกเป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้โดยการสร้าง             ภาพที่ 7                  ภาพที่ 8                                         พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ และ ม.ร.ว. สุวพรรณธ์  สนิทวงศ์              สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร
                    ระบบคลองส่งน�้าขึ้นเพื่อจะสามารถน�าเอาความอุดมสมบูรณ์มาสู่นาข้าว  ด้วยเหตุนั้น      พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์   ม.ร.ว. สุวพรรณธ์ สนิทวงศ์                              ที่มา : ประติมากรรมติดตั้งที่วัดเขียนเขต                                   (พระองค์เจ้ารังสิต ประยูรศักดิ์)
                                                                                                                     ที่มา : www: rangsit.org
                                                                                                                                                                                                                                                                                 ที่มา: www: rangsit.org
                14          นครรังสิตของเรา                                                                                                                                                                                                                                                               นครรังสิตของเรา     15
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22