Page 35 - Full paper สอฉ.3-62
P. 35

การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2                       The 2  Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
                                                                   nd
                                                        Research and Innovation Conference
             วันที่  6  กันยายน  2562  จ. มหาสารคาม                                                                                     6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND


                   การประเมินพลังงานของเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์ชนิดที่มีวัสดุสะสมความร้อน

                           Energy Performance Assessment of Solar Tunnel Dryer with Thermal Storage

                                                                 1,*
                                                       ถาวร อู่ทรัพย์

                           1 ภาควิชาเทคโนโลยียานยนต์   วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์  สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3


             บทคัดย่อ                                         1.  ค าน า


                การพัฒนาเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์  การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรด้วยวิธีการอบแห้ง เป็น
             ชนิดที่มีวัสดุสะสมความร้อน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงาน  ทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยยืดเวลาในการเก็บรักษาให้ยาวนานและ
             ส าหรับการอบแห้งผลผลิตทางการเกษตร ราคาต้นทุน     ยังช่วยเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้มีราคาสูงขึ้นด้วย ดังนั้นหากมี

             ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการอบแห้งมาแล้ว โดยในการศึกษานี้จะได้ท า  การน าเทคโนโลยีการอบแห้งที่เหมาะสมมาใช้ จะช่วยลดเวลา
             การอบแห้งเนื้อหมูแดเดียว  และหนังปลาแดดเดียว เพื่อ  ในการผลิตและของเสียลงได้ และผลผลิตจะถูกสุขอนามัยมาก
             ทดสอบสมรรถนะของระบบ  ซึ่งผลจากการทดสอบพบว่า  ขึ้น เทคโนโลยีการอบแห้งโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์เป็น

             ประสิทธิภาพของการอบแห้งของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด เท่ากับ  ทางเลือกหนึ่งที่ได้รับความสนใจ เพราะประเทศไทยมีศักยภาพ
             ร้อยละ 33.57 และ 34.72 ตามล าดับ สามารถลดเวลาในการ  สูงในด้านพลังงานแสงอาทิตย์ จากการค านวณความเข้มรังสี
             อบแห้งได้ถึงร้อยละ 51.2 และ 64.3 ตามล าดับ เมื่อเทียบกับ  แสงอาทิตย์เฉลี่ยรายวันของพื้นที่ทั่วประเทศ พบว่ามีค่าเท่ากับ

             เวลาในการตากแดด และระยะเวลาคืนทุนของระบบดังกล่าวจะ  18.2 เมกะจูลต่อตารางเมตร-วัน อย่างไรก็ตามการอบแห้งด้วย
             อยู่ในช่วง 0.33 -1.75 ป ี                        พลังงานแสงอาทิตย์ก็มีข้อจ ากัดในการท างานเฉพาะขณะที่มี

             Abstract                                         รังสีอาทิตย์เท่านั้น หากมีรังสีอาทิตย์น้อยหรือไม่มี เครื่อง

                In this study, the solar tunnel dryer with thermal storage   อบแห้งก็ไม่สามารถท างานได้ ดังนั้นหากมีการเพิ่มวัสดุสะสม
             was constructed. Two produces which were pork and fish skin   ความร้อนให้กับเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ จะช่วยเพิ่ม

             were dried to test the performance of the drying tunnel. The   ระยะเวลาในการอบแห้งให้นานขึ้น
             product cost was evaluated. In case of using thermal storage,   จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น การศึกษาพลังงานส าหรับการ
             the results reveal that the drying efficiency was 33.57% and   อบแห้ง  ราคาต้นทุนผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการอบแห้งด้วยเครื่อง

             34.72%  considering  when  pork  and  fish  skin  were  dried,   อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอุโมงค์ชนิดที่มีวัสดุสะสม
             respectively. In drying period of all produces comparing to   ความร้อนจึงมีความจ าเป็น
             the open sun drying could be reduced as much as 51.2% and  2.  อุปกรณ์และวิธีการ

             64.3%, respectively. The economic analysis indicates that the
             payback period was 0.33-1.75 years.              2.1 การอบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบ
             Keywords : Solar Tunnel Dryer, Thermal Storage, Energy   อุโมงค์ชนิดที่มีวัสดุสะสมความร้อน

             Performance Assessment                              การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ทดลองอบแห้งผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เนื้อ
                                                              หมู หนังปลานวลจันทร์ โดยใช้เครื่องอบแห้งพลังงาน


            * ผู้เขียนผู้รับผิดชอบบทความ (Corresponding author); ถาวร อู่ทรัพย์   วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ อ าเภอเมืองกาฬสินธุ์  จังหวัดกาฬสินธุ์  46000
            E-mail address: tawon.u@gmail.com                1
                                                                                                                17
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40